Page 12 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 12

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   7

                บุญ จะเกิดขึ้นไดเมื่อผูนําชุมชนเห็นขอมูลที่เปนรูปธรรม เชน กราฟเสน กราฟแทง กราฟวงกลม
                เกิดความตระหนักตอปญหาเบาหวานที่เกิดขึ้น คณะกรรมการของชุมชนจะเปนผูขับเคลื่อนใหเกิด

                การมีสวนรวมของทุกภาคสวนในชุมชน คณะกรรมการที่ขับเคลื่อนชุมชนดีควรผสมผสานระหวาง
                ผูนําชุมชนและจิตอาสา การจัดสรรงบประมาณเพื่อใหคนในชุมชนไดเครื่องออกกําลังกาย ไดครู
                ฝก ไดจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรูเรื่องเบาหวาน ปจจัยแวดลอมเหลานี้เอื้อใหไมเกิดผูปวยเบาหวาน
                รายใหมไดไมนอยกวา 2 ป แสดงใหเห็นบทบาทพยาบาลในฐานะผูพิทักษสิทธิ (Advocacy Role)
                ไดอยางชัดเจน (ชณิตา ประดิษฐสถาพร, 2559)

                        การประยุกตใชนวตกรรมการดูแลโรคเรื้อรังขององคการอนามัยโลกเพื่อการดูแล
                โรคเบาหวาน ทําใหเกิดการเชื่อมโยงทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน สงผลตอระดับน้ําตาล
                ในเลือดของผูรับบริการ พฤติกรรมสุขภาพ ความรวมมือของคนในชุมชนตอการจัดการปญหา

                และระบบบริการสุขภาพที่ดีขึ้น รวมทั้งแสดงใหเห็นความชัดเจนของบทบาทพยาบาลวิชาชีพที่
                ทํางานในระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิไดชัดเจนยิ่งขึ้น

                เอกสารอางอิง

                กอบกุล ยศณรงค. (2555). การพัฒนาระบบการดูแลผูปวยเบาหวานสูระบบบริการระดับปฐม
                       ภูมิในเครือขายบริการสุขภาพ อ.ปว จ.นาน. วารสารระบบสาธารณสุข, 6(2), 279-291.
                ชณิตา ประดิษฐสถาพร. (2559). การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนดานการปองกันเบาหวานดวย
                       อาหารวิถีลานนา: ประมวลบทความวิชาการ. พันธกิจสัมพันธมหาวิทยาลัยกับสังคม

                       สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
                พเยาว ผอนสุข และสิรินทรยา พูลเกิด. (2561). การศึกษาประสิทธิภาพ และความคุมทุนทาง
                        เศรษฐศาสตรของมาตรการลดการบริโภคโซเดียมโดยใชโปรแกรม One Health Tool.
                       แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสรางเสริมสุขภาพ. สืบคนจาก

                        http://www.fhpprogram.org/media/pdfs/reports/0188923f8632a5d36c0914
                       f17dd53a0e.pdf
                มณฑิชา รักศิลป. (2561). ตนทุนประสิทธิผลของโปรแกรมสรางเสริมสุขภาพรวมกับการใชกลุม

                        ชวยเหลือตนเองเพื่อปองกันโรคอวนในอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน อําเภอ
                       เลิกนกทา จังหวัดยโสธร. วารสารการพยาบาล และการดูแลสุขภาพ, 36(3), 127-136.
                วิชัย เอกพลกร และคณะ. (2559). การสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรางกายครั้งที่
                       5 พ.ศ.2557. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟคแอนดดีไซน.
                สุทธีพร มูลศาสตร, ชมนาด พจนามาตร และนิชธาวัลย ถาวร. (2560). การจัดการการดูแลผูปวย

                       โรคไมติดตอเรื้อรังในชุมชนที่มีความหลากหลายวัฒนธรรม เขตพื้นที่ชายแดนภาคเหนือ
                       ของประเทศไทย. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 31(1), 145-161.
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17