Page 9 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 9

4  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             supportive environment) และ 3. ปฏิบัติการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน (Strengthen
             community action) เรียกวารูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังแบบขยาย (Expanded chronic care

             model; ECCM) (Barr, Robinson, Marin-Link, Underhill & Dotts, 2003) การผสมผสาน
             ดังกลาวดวยเหตุที่ รูปแบบการดูแลโรคเรื้อรัง (Chronic care model/CCM) เนนการดูแลผูปวย
             ในโรงพยาบาลเปนหลัก และรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรังแบบขยาย (Expanded chronic care
             model; ECCM) เนนการดูแลผูปวยดวยชุมชน เมื่อผสมผสานกันแลว จึงสงผลใหนวตกรรมการ
             ดูแลโรคเรื้อรังขององคการอนามัยโลก (WHO’s Innovative Care for Chronic Conditions

             Framework; ICCC) นี้เกิดความเชื่อมโยงของระบบบริการสุขภาพชุมชน ครอบครัวและบุคคล
             ตลอดจนระดับนโยบาย กอใหเกิดการดําเนินงานแบบภาคีเครือขายอยางผสมผสาน และมีความ
             ตอเนื่องกันในทุกระดับ เพื่อใหเกิดผลลัพธทางสุขภาพที่ดีของผูปวยโรคเรื้อรัง การดําเนินการใน

             แตละระดับมีรายละเอียด (Pan American Health Organization, 2013) ดังนี้































                     ภาพ 1  WHO’s Innovative Care for Chronic Conditions Framework
                                     ที่มา World Health Organization, 2002, p.65


                     1.  ระดับผูปวยและครอบครัว (Patient and family) เปนปฏิสัมพันธระดับบุคคล
             ระหวางผูปวยและครอบครัวกับบุคลากรทีมรักษาและสมาชิกในชุมชน โดยมีเปาหมายใหผูปวย
             ไดรับการเตรียมพรอมทักษะที่จําเปน (Prepared) มีขอมูลเพียงพอ (Informed) และเกิด

             แรงจูงใจ (Motivated)
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14