Page 10 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 10

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   5

                        2.  ระดับระบบบริการสุขภาพและความเชื่อมโยงชุมชน(Health care organization
                and community linkage) เปนปฏิสัมพันธระหวางองคกรบริการสุขภาพและองคประกอบของ

                ชุมชน แบงเปน
                           2.1 การบริหารจัดการภายในองคกรสุขภาพ (Health care organization)
                ประกอบดวย การสงเสริมความรวมมือในการดูแลตอเนื่อง (Promote continuity and Co-
                ordination) กระตุนใหเกิดความเทาเทียมผานภาวะผูนําและการใหรางวัล (Encourage equity
                through leadership and incentive) จัดระบบและทีมบริการสุขภาพ (Organize and equip

                health care team) การใชระบบขอมูล (Use information system) และการสนับสนุนการ
                ปองกันและการจัดการดูแลตนเอง (Support self-management and prevention)
                           2.2 การเสริมการมีสวนรวมของชุมชน (Community) ไดแก สรางความตระหนัก

                และลดตราบาป (Raise awareness and reduce stigma) สนับสนุนใหเกิดผลลัพธที่ดีผานการ
                สนับสนุนของผูนําชุมชน (Encourage better outcome through leadership and support
                ) จัดสรร และประสานการทํางานของแหลงทรัพยากรตาง ๆ (Mobilize and coordinate
                resource) และการจัดบริการอยางสมบูรณแบบ (Provide complementary services)

                        3. ระดับปจจัยแวดลอมดานนโยบาย (Positive policy environment) ไดแก เสริม
                ความเขมแข็งของภาคีเครือขาย (Strengthen partnerships) การบูรณานโยบาย (Integrate
                policies) สนับสนุนงบประมาณอยางตอเนื่อง (Promote consistent financing) สนับสนุนการ
                ใชมาตรการทางกฎหมาย (Support legislative framework) จัดหาผูนําและการขับเคลื่อน

                (Provide leadership and advocacy) และพัฒนาและจัดสรรกําลังคน (Develop and
                allocate human resource)

                การประยุกตใชแนวคิดนวตกรรมการดูแลโรคไมติดตอเรื้อรังขององคการอนามัยโลก เพื่อการ
                ดูแลโรคเบาหวานตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ

                        การประยุกตใชแนวคิดนวตกรรมการดูแลโรคไมติดตอเรื้อรังขององคการอนามัยโลก
                เพื่อการดูแลโรคเบาหวานนี้ นําเสนอกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมระหวางป
                พ.ศ.2555-2561 และบางสวนของผลงานวิจัยการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนดานการปองกัน
                เบาหวานดวยอาหารวิถีลานนาของผูเขียน พบวาพบผลลัพธที่ดีของการดูแลโรคเบาหวานจะ

                เกิดขึ้นได หากพยาบาลมีการจัดการ 3 ระดับ ดังนี้
                        1. ระดับผูปวยและครอบครัว มีเปาหมายใหผูปวยไดรับการเตรียมพรอมทักษะที่จําเปน
                (Prepared) มีขอมูลเพียงพอ (Informed) และเกิดแรงจูงใจ (Motivated) เมื่อพยาบาลวิชาชีพ
                ดําเนินงานในชุมชนการใชกระบวนการเสริมพลังอํานาจ (Empowerment) เพื่อสงเสริมการจัด

                การตนเอง (self-management) และสนับสนุนพฤติกรรมการดูแลตนเอง (self-care behavior)
                เชน การเพิ่มการเคลื่อนไหวของรางกายและกลามเนื้อ เพื่อควบคุมน้ําหนักตัว โดยกิจกรรมการใช
                พลังงานของรางกายเหลานี้จําเปนตองถูกจริตของผูปวยและญาติ โดยใหพวกเขามีสิทธิ์ในการ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15