Page 7 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 7

2  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             Framework for making better outcome of chronic disease management in the
             north of Thailand by role’s professional nurses as advocacy role, health educator

             role, Health Care Provider Role and co-coordinator role.
             Keywords: Professional nurse role, Innovative Care for Chronic Condition, Primary
             Health Care System

             บทนํา

                     กลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง (Non-Communicable Disease; NCDs) ไดแก โรคเบาหวาน
             ชนิดที่ 2 โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ถือไดวาเปนปญหา
             สาธารณสุขของโลกและประเทศไทย โดยพบวาสาเหตุการตายและปวยของคนทั่วโลก 2 ใน 3

             เกิดจากโรคเรื้อรัง (World Health Organization; WHO, 2018) สถานการณประเทศไทย
             พบวาการตายและความชุกของโรคไมติดตอทั้ง 4 ชนิดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป
             2553-2557 ในทุกพื้นที่เขตสุขภาพ ดวยอัตราเพิ่มที่แตกตางกัน เพิ่มในกลุมชายมากกวาหญิง
             แนวโนมการตายมากขึ้นในกลุมอายุ 30-69 ปในอัตรา 28.10 ในผูชายและอัตรา 18.8 ในผูหญิง

             ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่องคการอนามัยโลกกําหนดใหลดลงภายในป 2568 และพบอัตราตายใน
             กลุมอายุที่นอยลง สวนสถานการณความชุกพบ โรคหัวใจขาดเลือดและหลอดเลือดสมองพบใน
             กลุมเพศชายมากกวาเพศหญิง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุมเพศหญิงมากกวา
             ชาย แตอยางไรก็ตามมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในกลุมอายุนอย ความชุกโรคเบาหวานในกลุมอายุ 30-39

             ปเปน 3 เทาของกลุมอายุ 15-29 ปและกลุมอายุ 60-69 ป เปนมากกวา 1.25 เทาของอายุ 50-
             59 ป (สุพัตรา ศรีวณิชชากร, 2560) ภาคเหนือมีความชุกสูงกวาภาคอื่น ๆ ของประเทศ และผูที่
             เปนเบาหวานไมทราบมากอนวาตนเองถึงรอยละ 43.1 (วิชัย เอกพลกร, 2559)
                     โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีสาเหตุมาจากเซลลในรางกายไมตอบสนองตอการกระตุนโดย

             ฮอรโมนอินซูลินที่มีอยูในกระแสเลือด เกิดภาวะดื้ออินซูลิน (insulin resistance) รางกายไม
             สามารถดึงน้ําตาลกูลโคสไปเปนพลังงานได สงผลใหเกิดระดับน้ําตาลในเลือดสูง
             (hyperglycemia) ขณะเดียวกันภาวะดื้อตออินซูลินมีผลโดยตรงตอการเกิดกลุมอาการเมติ
             บอลิกซินโดรม (metabolic syndrome) เชน ความดันโลหิตสูง อวน เกาท (Ekpenyon, 2019)

             เนื่องจากมีปริมาณไขมันสะสมในรางกายปริมาณมากทําใหมีการหลั่งฮอรโมนอดิโนเพคติน
             (adiponectin) ในเลือดลดลง (Lisa et.al, 2012) การมีฮอรโมนอดิโนเพคตินต่ํามีความสัมพันธ
             กับโรคหัวใจและหลอดเลือด (Weihua, Minghui, & Zhou, 2018) จึงกลาวไดวาโรคเบาหวาน
             เปนฐานรากของโรคเรื้อรังอื่น ๆ ซึ่งกอกอใหเกิดผลกระทบตอคาใชจายในดานสุขภาพของ

             ประเทศชาติ (Department of Non-Communicable Disease, 2017) ครอบครัวและความ
             เปนอยูในครอบครัว (Jaspers et.al, 2015)
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12