Page 8 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   3

                        การสงเสริมปองกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เพื่อลดปจจัยเสี่ยงถือเปนแนวทาง
                สําคัญในการจัดการปญหาสุขภาพ เนื่องจากมาตราการหนึ่งของการสงเสริมสุขภาพ คือ การ

                คนหาผูปวยในระยะแรก (early detection) เพื่อใหการรักษาอยางทันทวงที ปองกัน
                ภาวะแทรกซอนที่จะเกิดขึ้นมาในภายหลัง (secondary prevention) เชน มาตราการลดการ
                บริโภคเกลือ/โซเดียม จะเพิ่มจํานวนปสุขภาพดีจากโรคไมติดตอเรื้อรังไดถึง 430,000 ปในดาน
                อัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด (พเยาว ผอนสุข และสิรินทรยา พูลเกิด, 2561)
                ตนทุนประสิทธิผลของโปรแกรมสงเสริมสุขภาพรวมกับการใชกลุมชวยเหลือตนเองเพื่อปองกัน

                โรคอวนพบวา ผูรับบริการและผูใหบริการมีตนทุนประสิทธิผลสูงกวากลุมไมไดเขารวมโปรแกรม
                และมีตนทุนของผูใหบริการ 31,000 บาท ผูรับบริการ 18,000 บาท ตอ 6 เดือน (มณฑิชา รัก
                ศิลป, 2561) จึงเห็นไดวาการสงเสริมปองกัน ควบคุมโรคเรื้อรังไดผลดี

                        บทบาทพยาบาลวิชาชีพที่ทํางานในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ครอบคลุมมิติทาง
                การพยาบาล 4 มิติ คือ การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟนฟู
                สภาพตามมาตรฐานการพยาบาลในชุมชน ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิเปนหนวยบริการที่มี
                ความใกลชิดประชาชน การเขาถึงบริการของประชาชนไดอยางตอเนื่อง การประสานงาน การ

                บริการรอบดาน และการสรางการมีสวนรวมของชุมชน จึงทําใหพยาบาลมีบทบาทในการทํางาน
                เชิงรุกมากกวาเชิงรับ เพื่อใหตรงตามความตองการของชุมชนและสอดคลองกับวัฒนธรรมใหมาก
                ที่สุดแตเปนไปอยางมีมาตรฐาน พยาบาลจึงจําเปนตองมีองคความรูเกี่ยวกับโรคเรื้อรังใหมๆเพื่อ
                นําไปสูการประยุกตใช


                นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อรังขององคการอนามัยโลก (WHO’s Innovative Care for
                Chronic Conditions Framework; ICCC)
                        องคการอนามัยโลก (World Health Organization, 2002) ไดพัฒนานวัตกรรมการดูแล

                โรคเรื้อรัง โดยขยายมาจากรูปแบบการดูแลโรคเรื้อรัง (Chronic care model/CCM) ของวาก
                เนอร (Wagner, Austin, Davis, Hindmarsh, Schaefer & Bonomi, 2001) ที่กลาวถึงการ
                บริหารจัดการโรคเรื้อรังดวยแนวคิดเชิงระบบที่เนนการดูแลรักษาใหผูปวยยังคงมีสุขภาพดีเทาที่
                เปนไปไดภายใต 6 องคประกอบ คือ 1. ระบบสุขภาพองคกรและการดูแลสุขภาพ (Health

                system organization of health care) 2. ระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical information
                system) 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision support) 4. การออกแบบระบบบริการ
                (Delivery system design) 5. การสนับสนุนการจัดการดูแลตนเอง (Self-Management
                support) และ 6. นโยบายและทรัพยากรของชุมชน (Community resources and policies)

                แตดวยระบบนี้ยังไมมีรายละเอียดดานการปองกันโรคที่ตองเชื่อมโยงการทํางานในชุมชน จึงมีการ
                เพิ่มองคประกอบอีก 3 องคประกอบ คือ 1. การสรางนโยบายสาธารณะที่ดีตอสุขภาพ (Build
                healthy public policy) 2.การสรางสรรสิ่งแวดลอมที่สนับสนุนการดูแลสุขภาพ (Creative
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13