Page 70 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 70
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018 65
ตารางที่ 1 การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางดวยการคํานวณเทียบสัดสวนของกลุมตัวอยาง
จําแนกตามชั้นป
ชั้นป จํานวนประชากร(คน) จํานวณกลุมตัวอยาง
ป 1 89 89 × 190 = 45
376
ป 2 134 134 × 190 = 68
376
ป 3 153 153 × 190 = 77
376
รวม 376 190
หลังจากนั้นสุมตัวอยางอยางเปนระบบ (Systematic Random Sampling) โดยนํา
รายชื่อของทุกหนวยประชากรมาเรียงเปนระบบตามบัญชีเรียกชื่อการสุมจะแบงประชากร
ออกเปนชวง ๆ ที่เทากันโดยอาจใชชวงจากสัดสวนของขนาดกลุมตัวอยาง และประชากรแลวสุม
ประชากรหนวยแรก สวนหนวยตอๆไปนับจากชวงสัดสวนที่คํานวณไว คือ
N
� =
�
� = 376 = 2
190
ชวงสัดสวนที่คํานวณไดเทากับ 2 ดังนั้น จะทําการสุมกลุมตัวอยางของประชากรหนวย
แรกดวยวิธีการจับสลากและเริ่มนับชวงเลขที่ของกลุมตัวอยางเพิ่มขึ้นทีละ 2
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถาม แบงออกเปน 4 ตอน ไดแก
ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป ประกอบดวยขอมูลของนักศึกษาพยาบาล
ศาสตร เกี่ยวกับเพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณการขึ้นฝกปฏิบัติงาน
ตอนที่ 2 แบบประเมินการตระหนักรูในตนเอง จํานวน 20 ขอลักษณะคําตอบเปน
แบบมาตราสวนประเมินคา 6 ระดับ ไดแก (ทัศนีย สุริยะไชย, 2554)
การตอบจะตองเลือกตอบเพียง 1 ขอ จากนั้นนําคะแนนมาหาคาเฉลี่ย โดยมีการแปล
ความหมายดังนี้ (ทัศนีย สุริยะไชย, 2554)
5.01-6.00 หมายถึง มีความตระหนักรูในตนเองในระดับมากที่สุด
4.01-5.00 หมายถึง มีความตระหนักรูในตนเองในระดับมาก
3.01-4.00 หมายถึง มีความตระหนักรูในตนเองในระดับปานกลาง
2.01-3.00 หมายถึง มีความตระหนักรูในตนเองในระดับนอย
1.00-2.00 หมายถึง มีความตระหนักรูในตนเองในระดับนอยมาก