Page 69 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 69
64 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ไดทราบขอมูลพื้นฐานของระดับการตระหนักรูในตนเอง และการรับรูประโยชนของ
การตระหนักรูในตนเองของนักศึกษาพยาบาลแตละชั้นป ที่จะนํามาสูการจัดกิจกรรมสงเสริมให
นักศึกษาเกิดความตระหนักรูมากขึ้น
สมมุติฐานของการวิจัย
1. นักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1ชั้นปที่ 2 และชั้นปที่ 3 มีความตระหนักรูในตนเองที่
แตกตางกัน
2. นักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 1ชั้นปที่ 2 และชั้นปที่ 3 มีการรับรูประโยชนของการ
ตระหนักรูในตนเองที่แตกตางกัน
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ขอมูลสวนบุคคล
นิยามศัพทเฉพาะ เปรียบเทียบการตระหนักรูในตนเองของ
- เพศ นักศึกษาพยาบาล
- อายุ 1. การตระหนักรูในตนเองของนักศึกษา
- ชั้นป พยาบาลศาสตรชั้นปที่ 1, 2, 3
- ประสบการณในการดูแลผูปวย 2. การรับรูประโยชนของการตระหนักรูใน
หรือการฝกประสบการณขึ้น ward ตนเองของนักศึกษาพยาบาลศาสตรชั้นปที่
1, 2, 3
ระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยแบบเชิงพรรณนา (Descriptive research) เพื่อศึกษาการ
ตระหนักรูในตนเอง การรับรูประโยชนของการตระหนักรูในตนเอง ของนักศึกษาพยาบาล
มหาวิทยาลัยเอกชนแหงหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี
ประชากรและกลุมตัวอยาง
1.1 ประชากร คือ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี จํานวน 376
คน
1.2 กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี จํานวน
190 คน จากการเปดตารางของเครชี่และมอรแกน (Krejcie and Morgan, 1970) และคํานวณ
เทียบสัดสวนของกลุมตัวอยางแตละชั้นป ดังนี้