Page 44 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 44

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   39

                ประกันสุขภาพที่สถานีอนามัยของผูนําชุมชน (สุพล สังวันดี, 2540: 31-59) และไมสอดคลองกับ
                การศึกษาที่วา การที่ครอบครัวประกอบอาชีพที่มีรายไดสูง ยอมมีโอกาสแสวงหาขอมูลและสิ่ง

                อํานวยความสะดวกแกตนเอง สวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพที่มีรายไดนอย ตองเผชิญกับ
                ปญหาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อญาติเจ็บปวยเขาโรงพยาบาล (ฉันทนา ผองคําพันธุ, 2537)
                        จากผลการศึกษาพบวา บิดา มารดา มีบทบาทในการมาเยี่ยมผูปวยวิกฤตมากที่สุด รอย
                ละ81.20 และบุคคลที่มีสถานภาพสมรส คู มีความพึงพอใจในการบริการมากถึงรอยละ 78.20
                สามารถอธิบายไดวา ความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว ไมวาจะเปนบิดา มารดา สามี ภรรยา

                หรือความสัมพันธในบทบาทอื่น ๆ ยอมมีบทบาทสําคัญตอผูปวยเมื่อมีสมาชิกในครอบครัว
                เจ็บปวย โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเจ็บปวยในภาวะวิกฤต เมื่อมีสมาชิกในครอบครัวเจ็บปวย บุคคล
                ในครอบครัวมักมีความโกรธ เสียใจ รูสึกผิด คับของใจ กลัว วิตกกังวล และยังมีความหวังแต

                บางครั้งอาจรูสึกหมดหวังไดเชนกัน ปฏิกิริยาของครอบครัวตอความเจ็บปวยในภาวะวิกฤตนั้น
                บางครั้งอาจแสดงพฤติกรรมออกมาหลายรูปแบบ เชน รองไห ใหความปกปองผูปวยมากเกิน
                ความจําเปน ปฏิเสธไมยอมรับความเจ็บปวยที่เกิดขึ้น เปนตน (จุฑามาศ ปญญจะวิสุทธิ์ และ
                คณะ, 2535:7) สอดคลองกับการศึกษาที่วาการที่สมาชิกในครอบครัวเจ็บปวยทําใหสมาชิกใน

                ครอบครัวเกิดความวิตกกังวลตองการมาเยี่ยม สอบถามอาการ ใหกําลังใจผูปวย (รุจา ภูไพบูลย,
                2534) ดังการศึกษาของทอมสัน (Thomson, 1990) ที่พบวามารดาตองการไดรับการอธิบาย
                บอกเลาอยางชัดเจน เพื่อปฏิบัติตามกฎระเบียบของหอผูปวยไดอยางถูกตอง และสติลเวลล
                (Stillwell, 1984) ศึกษาความตองการของญาติผูปวยภาวะวิกฤตพบวาญาติตองการเห็นผูปวย

                บอยครั้ง และเขาเยี่ยมผูปวยไดตลอดเวลาและอยูใกลชิดผูปวย มีสวนรวมในการชวยเหลือผูปวย
                (Daley, 1984)
                        ผูรับบริการหรือญาติที่มีการรับรูความรุนแรงของโรคตางกัน โดยญาติผูปวยที่มีความ
                รุนแรงของโรคมากที่สุด (4A) มีความพึงพอใจมากที่สุด รอยละ 100.0 เนื่องจากกลุมตัวอยางที่

                เก็บขอมูลทั้งหมดเปนญาติของผูปวยที่มีความรุนแรงของโรคระดับ 4A และอาจเนื่องมาจากญาติ
                ผูปวยไดรับขอมูลดานการรักษาพยาบาล และการอํานวยความสะดวกตั้งแตแรกเขารับบริการใน
                หองผูปวยหนัก และดวยความเปนหวงในตัวผูปวย ไมวารับรูวาตัวผูปวยมีอาการอยางไร ก็มี
                ความตองการขอมูลเหมือนกัน ซึ่งไมสอดคลองกับการศึกษา ที่กลาววาการรับรูถึงความรุนแรง

                ของโรคที่เกิดจากการประเมินสถานการณของมารดา ที่มีตอการเจ็บปวยของบุตรที่แตกตางกัน
                ทําใหมารดามีความตองการแตกตางกันได (วิมลวัลย วโรฬาร, 2535)
                        จากผลการศึกษาพบวา จํานวนครั้งที่มารับบริการมีความสัมพันธตอความพึงพอใจอยาง
                มีนัยสําคัญทางสถิติ อธิบายไดวา ผูรับบริการที่มีประสบการณในการเขารับบริการมีความพึง

                พอใจมากกวาผูที่เขารับบริการเปนครั้งแรก เนื่องจาก ขณะเขารับบริการไดรับขอมูลขาวสารมา
                ตลอดเวลาและตอเนื่องทําใหมีประสบการณเดิมซ้ํา ๆ เพราะขอมูลขาวสารที่ใหคําแนะนําแก
                ญาติสวนใหญเปนขอมูลเดิม ทําใหผูรับบริการมีความรู ความเขาใจในระเบียบตาง ๆ และการ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49