Page 53 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 53
48 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018
(รอยละ 82.50) มีปญหาในการนอนหลับ มีพฤติกรรมหลับในเวลาเรียน ทําใหเรียนไมรูเรื่องไม
เขาใจในเนื้อหาที่อาจารยสอน ไมสามารถจับประเด็นในสวนที่สําคัญได และไมสามารถตอบ
คําถามได ทําใหผลการสอบไมเปนไปตามเกณฑ สวนปญหาที่พบบอยคือ พฤติกรรมการเขานอน
และตื่นนอนไมตรงเวลา การรับประทานอาหารและดื่มเครื่องดื่มกอนนอน และการใชยาและสาร
ตาง ๆ กอนนอน การดื่ม ชา กาแฟ ซึ่งออกฤทธิ์กระตุนประสาท ทําใหรางกายตื่นตัว ทําใหลด
ประสิทธิภาพการนอน ลดการหลับลึก (ธิติมา ณรงคศักดิ์, 2560)
อายุและระดับชั้นป ไมมีความสัมพันธตอคุณภาพการนอนหลับอาจเนื่องจากมีปจจัยอื่น
ที่สงผลตอคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษามากกวาจึงทําให อายุและระดับชั้นปไมมีผลตอ
คุณภาพการนอนหลับของนักศึกษา ซึ่งไมสอดคลองกับการศึกษาของกันตพร ยอดไชย (2552) ที่
พบวาอายุมีความสัมพันธทางบวกกับคุณภาพการนอนหลับของพยาบาลโรงพยาบาลศูนยภาคใต
ขอเสนอแนะจากการวิจัย
1. จากผลการศึกษาพบวา ความเครียด สิ่งแวดลอมทางกายภาพดานอุณหภูมิ และสุข
นิสัยเกี่ยวกับการนอนหลับ มีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษา และนักศึกษา
ออกกําลังกายนานๆ ครั้ง ดังนั้นอาจารยพยาบาลจึงควรตระหนักถึงความสําคัญ ทําการประเมิน
ระดับความเครียด ของนักศึกษาอยางตอเนื่อง และจัดกิจกรรมเพื่อผอนคลายความเครียดแก
นักศึกษา เชนกิจกรรมการออกกําลังกายทุกวันในตอนเย็นเพื่อสุขภาพที่ดีของนักศึกษา
2. ควรมีการศึกษาปจจัยดานอื่นๆ และควรเปนการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหไดขอมูลที่เปน
ประโยชนเพิ่มขึ้น
เอกสารอางอิง
กันตพร ยอดไชย. (2552). ปจจัยคัดสรรที่เกี่ยวของกับคุณภาพการนอนหลับของพยาบาล
โรงพยาบาลศูนยภาคใต. สงขลานครินทรเวชสาร, 27(1), 51-60.
จินดารัตน ชัยอาจ. (2556). ปจจัยที่รบกวนการนอนหลับในโรงพยาบาล: การจัดการโดยไมใช
ยา. คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, พยาบาลสาร, 40(พิเศษ ธันวาคม),
105-115.
ชลธิชา แยมมา, พีรพนธ ลือบุญธวัชชัย. (2556). ปญหาการนอนหลับ ความเหนื่อยลาและ
ประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ.
วารสารสมาคมจิตแพทยแหงประเทศไทย, 58(2), 183-196.
ดารัสนี โพธารส. (2560). ปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับของนิสิตพยาบาล.
วารสารคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 25(1), 25-36.