Page 58 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 58

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   53

                (สุจิตรา สมพงษ , 2557) ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันขั้น
                พื้นฐานของผูสูงอายุ เปนการประเมินความสามารถในการทําหนาที่ของรางกายเกี่ยวกับการ

                ชวยเหลือตัวเองรวมถึงความตองการการชวยเหลือจากบุคคลอื่น จากรายงานพบวาผูสูงอายุวัย
                70 ป รอยละ 75 มีความบกพรองในการชวยเหลือตนเอง ซึ่งเปนการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันได
                เองในเรื่องการอาบน้ํา การสวมใสเสื้อผา การเขาหองน้ํา การเคลื่อนยายและการรับประทาน
                อาหาร ซึ่งในทางวิชาการจึงมักจะนําเครื่องมือที่มีมาตรฐานมาใชในการประเมินความสามารถใน
                การดําเนินชีวิตประจําวันของผูสูงอายุเพื่อวางแผนการดูแลชวยเหลือทั้งในระบบบริการและการ

                ดูแลในครอบครัว ความสุขของผูสูงอายุพบวามีปจจัยที่มีผลตอความสุขในผูสูงอายุ คือ สุขภาพ
                รางกายที่ดี จิตใจสดชื่น ความพึงพอใจในชีวิตปจจุบัน การไดชวยเหลือผูอื่น การตระหนักถึง
                คุณคาในตนเอง การปฏิบัติกิจกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา (วรรณาวิสาข ไชยโย, 2557)

                         นอกจากนี้ยังพบวาการตระหนักถึงคุณคาในตนเอง การรับรูภาวะสุขภาพ การมีสิ่งยึด
                เหนี่ยวทางใจ การมีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนและสมาชิกในครอบครัว การสื่อสาร การบรรลุ
                เปาหมายในชีวิตและการมีสวนรวมในกิจกรรมและทําประโยชนใหชุมชนทําใหผูสูงอายุมีความสุข
                (สุจิตรา สมพงษ, 2557; ขวัญสุดา บุญทศ และขนิษฐา นันทบุตร, 2560)

                        จากการทบทวนวรรรกรรมขางตน คณะผูวิจัยสนใจศึกษาประเด็นความสุขและ
                ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันของผูสูงอายุ โดยมีคําถามในการวิจัยคือผูสูงอายุ
                ในชุมชนบานทุงขุนนอย อุบลราชธานีมีความสุขและความสามารถในการประกอบกิจวัตร
                ประจําวันอยูในระดับใด


                วัตถุประสงคการวิจัย
                        1. เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันของผูสูงอายุชุมชนทุง
                ขุนนอย

                        2. เพื่อศึกษาระดับความสุขของผูสูงอายุของผูสูงอายุชุมชนทุงขุนนอย
                        3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันกับ
                ความสุขของผูสูงอายุของผูสูงอายุชุมชนทุงขุนนอย


                สมมติฐานการวิจัย
                        มีความสัมพันธทางบวกระหวางความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันกับ
                ความสุขของผูสูงอายุชุมชนทุงขุนนอย
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63