Page 57 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 57

52  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

             คนเปนประชากรผูสูงอายุที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป 962 ลานคนคิดเปนรอยละ 13 ของประชากร
             ทั้งหมดจึงทําใหกลายเปนสังคมผูสูงอายุ (Aged society) ทั่วทั้งโลกยกเวนแอฟริกา ในประเทศ

             แถบอาเซียนที่จัดเปนสังคมผูสูงอายุมี 3 ประเทศ ไดแก สิงคโปรรอยละ 20 ไทยรอยละ 17 และ
             เวียดนามรอยละ 11 (บรรลุ ศิริพานิชย, 2559) ซึ่งจากการคาดประมาณประชากรของประเทศ
             ไทยป พ.ศ 2553–2583 พบวา สัดสวนของประชากรวัยเด็กลดลงประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นโดย
             อัตราที่สูงมากจะเห็นไดจากประชากรอายุ 60 ปขึ้นไปเพิ่มขึ้นดวยอัตราประมาณรอยละ 5 ตอป
             ประชากรอายุ 80 ปขึ้นไปเพิ่มดวยอัตราประมาณรอยละ 6 ตอป และคาดประมาณวาในป พ.ศ

             2564 ในประเทศไทยจะเขาสูสังคมสูงอายุอยางสมบูรณ (Completeaged society) ซึ่งหมายถึง
             ประชากรอายุ 60 ปขึ้นไปมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 20 ของประชากรทั้งหมด (สํานักงานสถิติ
             แหงชาติ, 2562)

                     ผูสูงอายุเปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งดานรางกายและจิตใจ จะพบวามีความ
             เสื่อมสภาพ ทําใหขาดความคลองแคลว หูตึง ตามัว ผมหงอก ความจําเริ่มเสื่อม ความคิดความ
             อานชาลง สวนการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจ อารมณ และสังคมผูสูงอายุบางคน ขาดความ
             มั่นใจ กลัวความเจ็บปวย  กลัวการสูญเสีย บางคนรูสึกดอยคา เกิดความเครียดงาย หงุดหงิด

             โกรธงาย และมีภาวะพึ่งพิง ดังจะเห็นไดจากการผลการสํารวจสุขภาวะของผูสูงอายุไทยป 2556
             ภายใตแผนงานสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุและผูพิการพบวาผูสูงอายุไทยมีปญหาสุขภาพรอยละ 95
             ปญหาสุขภาพที่พบมากกวารอยละ 50 เปนการเจ็บปวยดวยโรคเรื้อรังและเปน ผูปวยนอนติด
             เตียง (สุรเดช ดวงทิพยศิริกุล และคณะ 2557) ในขณะเดียวกับยังพบวาในการวิจัยเรื่องความสุข

             ในชีวิตของผูสูงอายุในชมรมผูสูงอายุตําบลหนองโพ จังหวัดราชบุรี พบวากลุมตัวอยางมีความสุข
             ในชีวิตโดยรวมอยูในระดับปานกลาง สวนใหญเปนครอบครัวเดี่ยว (รอยละ 51.30) เปนผูสูงอายุ
             กลุมติดสังคมและกลุมติดบาน มีคาครองชีพคอนขางสูง มีรายไดเฉลี่ยต่ํากวา 5,000 บาท (รอย
             ละ 33.70) รอยละ 51.00 ไดรับเบี้ยยังชีพจากรัฐบาลทุกเดือน สามารถตอบสนองความตองการ

             ดานความมั่นคงทางดานเศรษฐกิจของผูสูงอายุและมีโอกาสไดเขารวมกิจกรรมทางสังคม และ
             งานวิจัยนี้ยังพบวามีตัวแปรที่มีความสัมพันธกับความสุขของผูสูงอายุทางบวกไดแก
             ความสามารถในการดูแลตนเอง แรงสนับสนุนทางสังคม พัฒนกิจ (Development task)
             ครอบครัวระยะวัยชราและรายไดของผูสูงอายุ (อัมพร เครือเอม, 2561) นอกจากนี้ยังมีงานวิจัย

             ของปทมา ผองศิริ และคณะ (2561) พบวาสวนใหญผูสูงอายุมีคุณภาพชีวิตในระดับปานกลาง
             เมื่อพิจารณาแยกรายดานพบวาผูสูงอายุจะมีคุณภาพชีวิตในระดับดี ไดแก ดานจิตใจมีคามาก
             ที่สุดรอยละ 40.50 รองลงมาคือดานสิ่งแวดลอมรอยละ 40.20 เปนผูสูงอายุที่มีสุขภาพจิตดีกวา
             เกณฑมาตรฐานคนปกติรอยละ 61 สวนใหญเปนผูสูงอายุติดสังคมรอยละ 97.90

                     ในขณะเดียวกันถาหากผูสูงอายุที่มีการเจ็บปวยที่เปนปญหาสุขภาพจะสงผลตอปญหา
             ทางรางกายและความสุข ความทุกขของผูสูงอายุ เพราะความสุขของผูสูงอายุจากการตระหนัก
             ถึงคุณคาในตนเองที่สามารถชวยเหลือตนเอง สามารถปฏิบัติกิจกรรมประจําวันไดดวยตนเอง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62