Page 34 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 34

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   29

                และเบญฑิรา รัชตพันธนากร (2559) ศึกษาผลของโปรแกรมการสอนแบบสรางแรงจูงใจตอการ
                รับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก กรณีศึกษา: ตําบลกาวะ อําเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

                พบวา 1) คาเฉลี่ยคะแนนการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก กอนและหลังเขารวมโปรแกรม
                ของกลุมทดลองที่ไดรับการสอนแบบสรางแรงจูงใจ มีความแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
                ที่ระดับ .01 และ 2) คาเฉลี่ยคะแนนการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกหลังการสอนระหวาง
                กลุมทดลองที่ไดรับการสอนแบบสรางแรงจูงใจ และกลุมควบคุมที่ไดรับการสอนตามกิจวัตร
                แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=1.453, p< .05)


                ขอเสนอแนะ
                        1. โปรแกรมการสงเสริมแรงจูงใจในการปองกันโรค เนนการใหขอมูลที่สื่อสารใหเกิด

                การรับรูที่ถูกตองเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ลดความกลัวและความอาย โดยใช
                วิธีการซึ่งประกอบดวย การอบรมใหความรูเพื่อเสริมสรางการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
                มีกิจกรรมลดความรูสึกกลัว/อาย ตอการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การสาธิต
                วิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยใชหุนจําลอง แลกเปลี่ยนเรียนรูกับอาสาสมัคร

                สาธารณสุขประจําหมูบาน และอาสาสมัครสตรีที่มีประสบการณตรงเคยตรวจคัดกรองมะเร็ง
                ปากมดลูก ติดตามเยี่ยมบานกระตุนเตือนโดยทีมหมอครอบครัว และกิจกรรมรณรงคตรวจคัด
                กรองมะเร็งปากมดลูก บุคลากรในหนวยงานที่จะนําโปรแกรมไปประยุกตใช ควรมีประสบการณ
                ดานการใหบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

                        2. ในการรณรงคตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ควรนําวิธีการติดตามเยี่ยมบาน
                กลุมเปาหมายโดยทีมหมอครอบครัว เพื่อกระตุนเตือนใหมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปาก
                มดลูก
                        3. กอนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ควรสาธิตวิธีการตรวจโดยใชหุนจําลอง และ

                กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูผานประสบการณตรง จากแกนนําสตรีอาสาสมัครที่มี
                ประสบการณในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อการลดความรูสึกกลัว/อาย ตอการมารับ
                บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก


                เอกสารอางอิง
                สุรียา สะมะแอ คันธมาทน กาญจนภูมิ และเบญฑิรา รัชตพันธนากร. (2559). ผลของโปรแกรม
                       การสอนแบบสรางแรงจูงใจตอการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกกรณีศึกษา: ตําบล
                       กาวะ อําเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส. วารสารเครือขายวิทยาลัยพยาบาลและการ

                       สาธารณสุขภาคใต, 3(1): 31-45.
                จตุพล ศรีสมบูรณ. (2551). คูมือสูติสาสตรและนรีเวชวิทยา. เชียงใหม: พี.บี.ฟอเรน.
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39