Page 33 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 33

28  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

                     จากตารางที่ 2 พบวา หลังการทดลอง กลุมทดลองที่เขารวมโปรแกรมเสริมสราง
             แรงจูงใจในการปองกันโรค มีการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากสูงกวากลุมควบคุม อยางมีนัยสําคัญ

             ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (t=6.62, P=0.00)

             อภิปรายผลการวิจัย
                        จากผลการวิจัย พบวา หลังการทดลอง กลุมทดลองที่เขารวมโปรแกรมเสริมสราง
             แรงจูงใจในการปองกันโรคมีการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก สูงกวากอนการทดลอง เปนไป

             ตามสมมติฐานการวิจัย อธิบายไดวา กลุมทดลองที่เขารวมโปรแกรมเสริมสรางแรงจูงใจในการ
             ปองกันโรค ไดเขารวมกิจกรรมตามโปรแกรมการทดลอง ไดรับการอบรมใหความรูเพื่อเสริมสราง
             การรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มีกิจกรรมลดความรูสึกกลัว/อาย ตอการมารับบริการตรวจ

             คัดกรองมะเร็งปากมดลูก การสาธิตวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยใชหุนจําลอง
             แลกเปลี่ยนเรียนรูกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน และอาสาสมัครสตรีที่มี
             ประสบการณตรงเคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ติดตามเยี่ยมบานกระตุนเตือนโดยทีมหมอ
             ครอบครัว และกิจกรรมรณรงคตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เปนการเสริมแรงจูงใจ สรางการ

             รับรูที่ถูกตองเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก สอดคลองกับแนวคิดทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกัน
             โรคของ Rogers (Maddux and Rogers, 1983) ที่วา“การที่บุคคลจะปฏิบัติพฤติกรรมที่
             หลีกเลี่ยงจากการเปนโรคหรือปองกันโรคได บุคคลนั้นตองมีความเชื่อวาตนเองมีโอกาสเสี่ยงตอ
             การเกิดโรค โรคที่เกิดขึ้นจะมีความรุนแรงตอชีวิต การปฏิบัติพฤติกรรมการปองกันโรค จะชวย

             ลดความรุนแรงของโรค และตองไมมีอุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมการปองกันโรค”
             สอดคลองกับผลการศึกษาของ จันทนี แตไพสิฐพงษ (2556) ที่ศึกษาผลของโปรแกรมการให
             ความรูตอระดับความรูและทัศนคติในสตรีที่มีผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปกติเพื่อ
             เปรียบเทียบระดับความรู และทัศนคติ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก กอนและหลังการใช

             โปรแกรมการใหความรูในสตรีไทย พบวาหลังเขารวมโปรแกรม กลุมตัวอยางมีระดับความรู และ
             มีทัศนคติตอโรคมะเร็งปากมดลูกสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.05)
                     ผลการวิจัยยังพบวา กลุมทดลองที่เขารวมโปรแกรมเสริมสรางแรงจูงใจในการปองกันโรคมี
             การรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก สูงกวากลุมควบคุม เปนไปตามสมมติฐานการวิจัย อธิบาย

             ไดวา กลุมทดลองที่เขารวมกิจกรรมตามโปรแกรมการทดลอง ไดรับขอมูลที่เปนประโยชนแก
             ตนเอง เกิดการรับรูที่ถูกตอง และสามารถเปลี่ยนแปลงการรับรูที่ถูกตองนําสูการตรวจคัดกรอง
             มะเร็งปากมดลูก สอดคลองกับแนวคิดของ Rogers (Maddux and Rogers, 1983) ที่วา“การที่
             บุคคลจะปฏิบัติพฤติกรรมที่หลีกเลี่ยงจากการเปนโรคหรือปองกันโรคได ตองคํานึงถึงสิ่งชักนําสู

             การปฏิบัติ ไดแก การรับขอมูลขาวสารทางดานสุขภาพจากสื่อตาง ๆ การไดรับคําแนะนําจาก
             กลุมเพื่อน ญาติ บุคลากรทางดานสุขภาพ เพื่อเปนแรงจูงใจใหบุคคลปฏิบัติพฤติกรรมการ
             ปองกันโรค” และสอดคลองกับผลการศึกษาของ สุรียา สะมะแอ คันธมาทน กาญจนภูมิ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38