Page 30 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 30
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 25
แบบสอบถาม 4) คัดเลือกสื่อบุคคลคืออาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน และอาสาสมัคร
สตรีที่ผานการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ขั้นเตรียมกลุมทดลอง โดยการประสานงานกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
เขาพบกลุมตัวอยางในหมูบาน
ขั้นดําเนินการทดลอง
1. สรางสัมพันธภาพที่ดีกับกลุมตัวอยาง โดยผูวิจัยแนะนําตัว ชี้แจงวัตถุประสงค
ของการวิจัย
2. ผูชวยวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบประเมินการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปาก
มดลูก กอนการสอนของกลุมตัวอยาง พรอมทั้งผูวิจัยเปดโอกาสใหซักถาม และแลกเปลี่ยน
ประสบการณเพื่อนําเขาสูเนื้อหาการสอน
3. ผูวิจัยดําเนินการทดลองตามโปรแกรม และเก็บขอมูลในกลุมทดลองและกลุม
ควบคุม ดังนี้
3.1 กลุมทดลอง ผูวิจัยใหความรูเปนรายกลุม และมีการใชรูปแบบการสอน
แบบอภิปรายกลุม และจัดกิจกรรมตามโปรแกรม ดังนี้
สัปดาหที่ 1 - 2 อบรมใหความรูเพื่อเสริมสรางการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็ง
ปากมดลูก
สัปดาหที่ 3 - 4 กิจกรรมลดความรูสึกกลัว/อาย ตอการมารับบริการตรวจ
คัดกรองมะเร็งปากมดลูก
- สาธิตวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยใชหุนจําลอง
- แลกเปลี่ยนเรียนรูกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน และ
อาสาสมัครสตรี ที่มีประสบการณตรงเคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เกี่ยวกับวิธีการตรวจคัด
กรองมะเร็งปากมดลูก และประโยชนที่ไดรับจากการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สัปดาหที่ 5 - 6 ติดตามเยี่ยมบานกระตุนเตือนโดยทีมหมอครอบครัว
สัปดาหที่ 7 - 8 กิจกรรมรณรงคตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยผูวิจัย
ไดดําเนินการดังนี้
- ผูวิจัยแจงกลุมตัวอยางถึงวัน เวลา ในการใหบริการตรวจคัดกรอง
มะเร็งปากมดลูก
- ประเมินการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก หลังการสอนของกลุมตัวอยาง
- นําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบความถูกตอง และความสมบูรณกอนนําไป
วิเคราะหขอมูล
3.2 กลุมควบคุม ผูวิจัยดําเนินการ ดังนี้
3.2.1 สงจดหมายเชิญชวนสตรีใหมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปาก
มดลูก ผานอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน