Page 29 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 29

24  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             เปนกลุมยอยในหมูบาน กลุมละ 30 ราย และประเมินการรับรูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก กอน
             และหลังการสอน การติดตามเยี่ยมบาน กิจกรรมเพื่อลดความรูสึกกลัว/อายตอการมารับบริการ

             ตรวจ โดยการสาธิตวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก รวมกับกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับ
             อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน และอาสาสมัครสตรี ที่มีประสบการณตรง และลดความ
             กลัวในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และการรณงคตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
                     2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถามการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปาก
             มดลูก 4 ดาน จํานวน 20 ขอดังนี้

                       2.1 การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน 5 ขอ
                       2.2 การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน 5 ขอ
                       2.3 การรับรูประโยชนในการปฏิบัติเพื่อปองกันการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน

             5 ขอ
                       2.4 การมีแรงจูงใจในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จํานวน 5 ขอ
                       ลักษณะของคําถามเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scales) โดยมีเกณฑในการ
             ใหระดับคะแนน ดังนี้

                       การรับรูและแรงจูงใจ   ขอความทางบวก (คะแนน)    ขอความทางลบ (คะแนน)
                            เห็นดวยอยางยิ่ง            5                           1
                            เห็นดวย                     4                           2
                            ไมแนใจ                     3                           3

                            ไมเห็นดวย                  2                            4
                            ไมเห็นดวยอยางยิ่ง         1                            5

              การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

                     การหาความตรงตามเนื้อหา ใหผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบ จํานวน 3 ทาน ไดคาความ
              สอดคลองคุณภาพเครื่องมือ (IOC) เทากับ 0.67 – 1.00 และนําแบบประเมินไปหาคาความ
              สอดคลองภายใน โดยสัมประสิทธิ์ครอนบาค ไดคาความเที่ยงของเครื่องมือเทากับ 0.92


              การเก็บรวบรวมขอมูล
                     ในการเก็บรวบรวมขอมูลแบงเปน 4 ขั้นตอน ดังตอไปนี้
                     ขั้นเตรียมผูวิจัย 1) ทําหนังสือถึงผูใหญบานในพื้นที่เปาหมายการวิจัย เพื่อเก็บขอมูล
              และชี้แจงวัตถุประสงคของการทําวิจัย และขออนุญาตในการเก็บขอมูล 2) สํารวจรายชื่อหญิง

              อายุ 30 – 60 ป ประวัติการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จากฐานขอมูลของโรงพยาบาล
              สงเสริมสุขภาพตําบลดงบัง 3) คัดเลือกผูชวยวิจัย ที่ผานการฝกอบรมการตรวจคัดกรองมะเร็ง
              ปากมดลูก โดยวิธี Pap Smear และชี้แจงวัตถุประสงคของการวิจัย อธิบายเกี่ยวกับการใช
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34