Page 31 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 31
26 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017
กระแสประสาทนําขึ้น หมายความวาถาประตูสัญญานความปวดปด จะทําใหความปวดลดลง
สอดคลองกับการใชทฤษฎีควบคุมประตู (Gate control theory) ของเมลเซค (Melzack
Ronald, 2004) ในการจัดสิ่งแวดลอมเพื่อผอนคลายของผูปวย สืบเนื่องมาจากวา ความวิตก
กังวล ความเครียด จะทําใหเพิ่มความปวดมากขึ้น สาเหตุจากการกระตุนสมองสวนคอรเทกซ
และทาลามัส ดังนั้นการจัดสิ่งแวดลอมเปนสวนหนึ่งที่ทําใหผูปวยคลายความวิตกกังวล จะทําให
กระตุนสมองตอมพิทูอิทารีย pituitary grand) และ ไฮโปทารามัส (hypothalamus) ใหหลั่ง
สาร endogenous morphine หรือ endorphin ซึ่งสงผลใหลดอาการปวด การดูแลผูปวยที่
นุมนวลและใหกําลังใจ เพื่อลดความวิตกกังวลและความเครียด ซึ่งสงผลทําใหอาการปวดลดลงได
(อัจฉรียา ปทุมวัน, 2551) จึงทําใหหลังจากการใชนวัตกรรมการจัดการความปวด VNBN pain
expression ทําใหลดระยะเวลาในการเผชิญความปวดไดมากกวาการจัดการความปวดแบบเดิม
ซึ่งจะเห็นวาคาเฉลี่ยของคะแนนความปวดของกลุมที่ใชนวัตกรรม VNBN pain expression
และกลุมที่ใชการจัดการความปวดแบบเดิม มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ในชั่วโมงที่ 2
หลังผาตัด และ 48 ชั่วโมงหลังผาตัด แตในระยะหลังผาตัด 4 ชั่วโมง พบวา คาเฉลี่ยของคะแนน
ความปวดของกลุมที่ใชนวัตกรรม VNBN pain expression และกลุมที่ใชการจัดการความปวด
แบบเดิมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญนั้น เนื่องจากกลุมศึกษาทั้งสองกลุมอยูในระยะเวลาหลัง
ไดรับยากลุม opioid
ขอเสนอแนะ
การพัฒนาแนวทางการประเมินและการพยาบาลเพื่อลดปวด สามารถนํานวัตกรรม
VNBN pain expression ประยุกตใชไดกับผูปวยที่มีความปวดที่นอกเหนือจากการปวดจากการ
ผาตัดเนื่องจากเปนเครื่องที่ใชในการประเมินและใหการพยาบาลเพื่อลดปวดในเครื่องมือเดียวกัน
โดยมีการศึกษาและพัฒนาเพิ่ม เนื่องจากการทําวิจัยในครั้งนี้ กลุมวิจัยมีขนาดเล็กและคัดเลือก
เฉพาะผูที่ไดรับการผาตัดครั้งแรกเปนการผาตัดบริเวณหนาทอง ไมมีภาวะแทรกซอนและโรค
เรื้อรัง สามารถสื่อสารไดเขาใจ ควรมีการศึกษาซ้ําโดยการศึกษาในเรื่องการจัดการความปวดใน
ผูปวยผาตัดทุกประเภท ควรเพิ่มจํานวนกลุมตัวอยางและเพิ่มระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูล
เพื่อใหมีประสิทธิภาพ ความแมนยํา และมีความตรงของเครื่องมือ
เอกสารอางอิง
จันทรา อรัญโชติ. (2557). การพัฒนาแนวปฏิบัติการจัดการความปวดหลังผาตัดในหองพักฟน
โรงพยาบาลกาฬสินธุ, วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 7(1), 21-31.
นิตยา ธีรวิโรจน, อมรรัตน คงนุรัตน, ทรงพร กวางนอก, สุจิตรา สุขผดุง, ภูวดล กิตติวัฒนาสาร
. (2554). การศึกษาสถานการณการประเมินความปวดในผูปวยหลังผาตัดทางออรโธป
ดิกส โรงพยาบาลบุรีรัมย(Postoperative Pain Assessment Situation in