Page 30 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 30
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017 25
คาความตรงของการจัดการปวดของผูปวยที่ใชนวัตกรรมประเมินความปวด VNBN pain
expression คิดเปนรอยละ 90 คาความตรงของการจัดการปวดของผูปวยที่ใชการจัดการความ
ปวดแบบเดิม คิดเปนรอยละ 70 ซึ่งผลที่ไดจากการเปรียบเทียบความตรงของการจัดการความ
ปวดโดยใชนวัตกรรม VNBN pain expression มีความตรงมากกวาการจัดการความปวด
แบบเดิม 20% ดังตารางที่ 3
อภิปรายผล
ผลการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของนวัตกรรมการจัดการความปวด VNBN pain
expression กับการจัดการความปวดแบบเดิมโดยวิเคราะหขอมูลดวยสถิตินอนพารามิเตอร
(non-parametric statistics) ดวย Rank-sum Test (หรือ Wilcoxon-Mann Whitney-U
Test) ผลการศึกษา พบวา คาเฉลี่ยของคะแนนความปวดหลังผาตัด 2 ชั่วโมง กลุมที่ใชนวัตกรรม
VNBN pain expression เทากับ 6.4 คะแนน อยูในระดับปวดปานกลาง กลุมที่ใชการจัดการ
ความปวดแบบเดิมเทากับ 7.7 คะแนน อยูในระดับปวดมาก ซึ่งคาเฉลี่ยความปวดหลังผาตัด 2
ชั่วโมงมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (p=0.047) คาเฉลี่ยคะแนนความปวดหลังผาตัด 4
ชั่วโมง กลุมที่ใชนวัตกรรม VNBN pain expression เทากับ 5.4 คะแนน อยูในระดับปวดปาน
กลาง กลุมที่ใชการจัดการความปวดแบบเดิมเทากับ 6.0 คะแนน อยูในระดับปวดปานกลาง ซึ่ง
คาเฉลี่ยความปวดหลังผาตัด 4 ชั่วโมง ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (p=0.258)
คาเฉลี่ยของคะแนนความปวดหลังผาตัด 48 ชั่วโมง กลุมที่ใชนวัตกรรม VNBN pain expression
เทากับ 2.2 คะแนน อยูในระดับปวดนอย กลุมที่ใชการจัดการความปวดแบบเดิมเทากับ 3.6
คะแนน อยูในระดับปวดนอย ซึ่งคาเฉลี่ยความปวดหลังผาตัด 48 ชั่วโมงมีความแตกตางกันอยาง
มีนัยสําคัญ (p=0.018) ซึ่งจากผลการศึกษาจะเห็นวานวัตกรรม VNBN pain expression เปน
นวัตกรรมที่ไดรับการพัฒนามาจากเครื่องมือประเมินความปวดแบบเดิม เปนเครื่องมือที่ใชไดงาย
สะดวกตอการพกพา และประเมินไดตรงกับความรูสึกผูปวย รวมทั้งการที่นวัตกรรม VNBN pain
expression มี 2 สวนคือ สวนที่พยาบาลเปนผูประเมิน และสวนที่ผูปวยประเมินตนเอง ที่ทํา
การประเมินความปวดมีความตรงกับความรูสึกของผูปวยและผูปวยไดรับการพยาบาลตรงตาม
ความตองการเหมาะสมกับตัวผูปวยอยางแทจริง นอกจากนั้นนวัตกรรม VNBN pain
expression จะมีการอธิบายถึงการพยาบาลในแตระดับชวงคะแนนความปวด ARE for
comfort เปนการนําเอากระบวนการพยาบาลมาใชทําใหเกิดเปนจุดเดนของเครื่องมือ ที่สามารถ
ใชไดทั้งการประเมินและการใหการพยาบาลบรรเทาอาการปวด เปนการพยาบาลที่มีการนําเอา
เรื่องการจัดทาเพื่อใหกลามเนื้อสวนที่ผาตัดไมใหตึงตัว ซึ่งจะใหทาที่ผูปวยสะดวกสบาย การใช
เทคนิคการผอนคลายโดยการหายใจ ทาที่ 1 (skt1) โดยใหผูปวย "นั่งผอนคลาย ประสานกาย
ประสานจิต" (สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี, 2556) เปนการนั่งหรือนอนปฏิบัติสมาธิดวยการ
หายใจ ซึ่งหากทําจะทําใหเกิดการกระตุนกระแสประสาทขนาดใหญ ซึ่งเปนการยับยั้งการสง