Page 29 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 29

24  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017

             เปนรอยละ 10 และมีจํานวนเลือดที่สูญเสียเฉลี่ยเทากับ 29 (SD=4.9) ซึ่งคาเฉลี่ยจํานวนเลือดที่
             สูญเสียทั้งสองกลุม ไมมีความแตกตางกันที่ระดับสถิติ p=0.373 ดังตารางที่ 1


             ตารางที่ 2 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนระดับความปวดของกลุมทดลองและ
             กลุมควบคุมชั่วโมงที่ 2 หลังผาตัด, 4ชั่วโมง และ 48 ชั่วโมง

               ลักษณะที่ศึกษา                  กลุมทดลอง         กลุมควบคุม         p-

                                                 x̄      SD        x̄      SD       value
               ระยะเวลาในการประเมิน

                  หลังผาตัดใน 2 ชั่วโมง     6.4             1.5   7.7           1.6   0.047
                  หลังผาตัด    4 ชั่วโมง    5.4            1.1   6.0            1.6   0.258
                   หลังผาตัด  48 ชั่วโมง    2.3               0.5   3.7            1.4   0.018


                     คาเฉลี่ยของระดับความปวดหลังผาตัด 2 ชั่วโมง กลุมทดลองเทากับ 6.4 คะแนน อยูใน
             ระดับปวดปานกลาง กลุมควบคุมเทากับ 7.7 คะแนน อยูในระดับปวดมาก ซึ่งคาเฉลี่ยความปวด
             หลังผาตัด 2 ชั่วโมง มีความแตกตางกันที่คาสถิติ p=0.047 คาเฉลี่ยของระดับความปวดหลัง

             ผาตัด 4 ชั่วโมง กลุมทดลองเทากับ 5.4 คะแนน อยูในระดับปวดปานกลาง กลุมควบคุมเทากับ
             6.0 คะแนน อยูในระดับปวดปานกลาง ซึ่งคาเฉลี่ยความปวดหลังผาตัด 4 ชั่วโมง ไมมีความ
             แตกตางกันที่คาสถิติ p=0.258 คาเฉลี่ยของระดับความปวดหลังผาตัด 48 ชั่วโมง กลุมทดลอง
             เทากับ 2.2 คะแนน อยูในระดับปวดนอย กลุมควบคุมเทากับ 3.6 คะแนน อยูในระดับปวดนอย
             ซึ่งคาเฉลี่ยความปวดหลังผาตัด 48 ชั่วโมงมีความแตกตางกันที่คาสถิติ p=0.018 ดังตารางที่ 2


             ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความตรงของการจัดการความปวดของกลุมทดลองและกลุมควบคุม
             ระหวางนวัตกรรม VNBN pain expression กับการจัดการความปวดแบบเดิม


                      ลักษณะที่ศึกษา          VNBN   pain expression          แบบเดิม
                                                 N=10           %        N=10        %
               ความตรงของการจัดการความปวด          9            90         7         70

               ตอความปวดของผูปวย (ครั้ง)


                     จากการศึกษาผูปวยหลังผาตัดบริเวณหนาทองจํานวน 20 ราย แบงเปนกลุมทดลองและ
             กลุมควบคุม กลุมละ 10 ราย ผลการเปรียบเทียบความตรงของการจัดการความปวดระหวาง
             นวัตกรรม VNBN pain expression และการจัดการความปวดแบบเดิมจากการสอบถามพบวา
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34