Page 87 - JRIHS_VOL1
P. 87

82  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017

            Abstract

                    The objective of this Cross-sectional Analytical Study Design research was
            to study knowledge related to the safety behavior of wood furniture employee at

            Nonkor Sub-district, Sirindhorn District, Ubon Ratchathani Province, samples of 170
            wood furniture employee were chosen by simple random sampling.  The

            instrument used for data collection was the questionnaire constructed by the

            researcher. Data were analyzed by using percentage, mean and standard deviation,
            Chi-square. The results of the study were as following; the knowledge that had

            significantly related to safety behavior of wood furniture. The safety behaviors of
            wood furniture were at the good level. The uses of personal protective equipment

            were at the high level. The knowledge was at the high level. So there should be

            promoting knowledge continuously. The group also had low knowledge.  With
            increased knowledge. The knowledge that affects the wood furniture workers with

            a good safety behavior.

            Keywords: Knowledge, safety behavior, wood furniture employee


            บทนํา

                    ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศที่กําลังพัฒนาประเทศหนึ่ง โดยมีการพัฒนางานด้าน
            อุตสาหกรรมขึ้นจํานวนมาก และปัจจุบันประเทศไทยมีจํานวนโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ทั้งสิ้น

            6,482 โรงงาน (สถิติกรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2556) จากสถิติพบว่าตั้งแต่ปี พ.ศ.2552–2556

            มีผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องมาจากการทํางานทั่วประเทศเป็นจํานวนมากและมีจํานวน
            เพิ่มขึ้นทุกปีซึ่งในปี พ.ศ. 2555 มีผู้ประสบอุบัติเหตุเนื่องมาจากการทํางานรวมทั้งสิ้น จํานวน

            131,826 คน และข้อมูลในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 มีผู้ประสบอุบัติเหตุเนื่องมาจากการทํางาน

            รวมทั้งสิ้นจํานวน 111,894 คน แบ่งเป็นจํานวนผู้เสียชีวิต 635 คน ทุพพลภาพ 28 คน สูญเสีย
            อวัยวะบางส่วน 3,036 คน ทํางานไม่ได้ชั่วคราว 76,776 คน และยังมีผู้ประสบอันตรายอีกจํานวน

            มากที่ยังไม่ได้มาแจ้งกับกรมแรงงาน (กองเงินทดแทน, 2556) ปัญหาการเกิดอุบัติเหตุและการ

            เจ็บป่วยไม่ได้ส่งผลกระทบต่อลูกจ้างหรือครอบครัวเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อนายจ้างรัฐบาล
            และประชาชนอันเป็นอุปสรรคในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติโดยส่วนรวม (เอกสาร

            การสอนชุดวิชา อาชีวอนามัย, 2538:42)
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92