Page 30 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 30

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   25

                budgeting management efficiency in budget planning aspect statistics at 0.01.
                3.2) The performing competences in expertise in careers had positive impact on

                strategic  performance- based  budgeting  management  efficiency  in  unit  cost
                calculation  aspect  statistics at  0. 01.  3. 3)   The  performing  competences  in
                achievement motivation had positive impact on strategic performance-based
                budgeting  management efficiency in financial and performing  result  report
                aspect statistics at 0.05.

                Keywords: Performing Competence, Good Governance, Educational Institutions
                on Strategic Performance-based Budgeting Management Efficiency


                บทนํา
                        ตามที่ประเทศไทยประสบภาวะวิกฤติเศรษฐกิจอยางรุนแรง ตั้งแตป 2540 เปนตนมา
                สงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของคนไทยตลอดจนการทํางานในสวนของภาครัฐที่ไดรับผลกระทบ
                อยางชัดเจน สวนราชการจําเปนตองปรับตัวใหสนองตอบตอปญหาและการเปลี่ยนแปลง เพื่อ

                แกไขปญหาของชาติอยางจริงจัง  เนื่องจากทรัพยากรและงบประมาณของประเทศมีจํานวนจํากัด
                (นันทนา สมิงไพร, 2557, น.5) ดวยเหตุนี้ รัฐบาลจึงจําเปนตองปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ใหเปน
                รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม ที่เนนการบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ (Result-Based
                Management) ยึดผลลัพธเปนหลักในการปฏิบัติงาน และมีการวัดผลเทียบกับการใชจายอยาง

                เปนรูปธรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณคางานใหเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคม (ณัฐพงศ รัตน
                รังสี, 2559, น.1) โดยสํานักงบประมาณไดกําหนดระเบียบและปรับปรุงการบริหารงบประมาณ ให
                สอดคลองกับระบบวิธีการจัดการงบประมาณที่มุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร ดวยการจัดสรร
                งบประมาณใหกับสวนราชการและรัฐวิสาหกิจอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งมอบ

                อํานาจและความรับผิดชอบใหหนวยปฏิบัติสามารถบริหารงบประมาณไดอยางยืดหยุนและ
                คลองตัว เพื่อใหบรรลุเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ของงานตามยุทธศาสตร แผนงาน และแผนงานใน
                เชิงบูรณาการที่กําหนดไว การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมจึงถูกนํามาประยุกตใชใน
                มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อทําใหระบบราชการขับเคลื่อนไปไดอยางมีดุลยภาพ

                        สมรรถนะหลักทางการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators) ถือเปนหัวใจหลัก
                ของระบบการบริหารงานในปจจุบัน ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อนําไปใชประโยชนในการปฏิบัติงาน
                ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เมื่อพิจารณาภารกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏ จะเห็นไดวา
                ภารกิจหลักคือ การจัดการศึกษาและการบริหาร ซึ่งจะตองใชทั้งกระบวนการและปจจัยจึงจะ

                บรรลุผล มาตรา 80 แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.
                2547 ระบุวา ใหผูบังคับบัญชาปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูใตบังคับบัญชา รวมทั้งมีหนาที่
                พัฒนาผูใตบังคับบัญชาใหมีความรู ทักษะ เจตคติที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35