Page 24 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 24

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   19

                อภิปรายผล
                       1. ผูปฏิบัติงานดานบัญชีของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย มีการปฏิบัติตาม

                เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีของสวนราชการ ไดแก ดานความถูกตอง ความ
                โปรงใส และความรับผิดชอบ อยูในระดับมากที่สุด เนื่องจากการปฏิบัติงานตามเกณฑการ
                ประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชี ผูปฏิบัติงานจะตองคํานึงถึงขอมูลที่นํามาประกอบการ
                บันทึกรายการใหมีการแสดงยอดคงเหลือและรายการเคลื่อนไหวของบัญชี จะตองถูกตอง
                สอดคลองกับขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น จากหลักฐานที่นาเชื่อถือ สามารถพิสูจนความถูกตองได โดย

                จะตองปฏิบัติงานดวยความโปรงใส ไมปดบังซอนเรน บิดเบือน หรือเห็นแกประโยชนสวนตน
                เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียทั้งภายในและภายนอกหนวยงานสามารถเขาถึงขอมูลทาง
                บัญชีไดโดยสะดวก ทั้งนี้ผูปฏิบัติงานดานบัญชีจะตองมีการจัดสงงบทดลองประจําเดือน และ

                รายงานการเงินประจําปที่ถูกตองตรงกับขอมูลรายงานในระบบ GFMIS ภายในระยะเวลาที่
                กําหนด รวมทั้งสามารถตอบขอทักทวงดานบัญชีการเงินตามขอสังเกตประกอบการตรวจสอบ
                รายงานการเงินของสํานักงานการตรวจเงินแผนดินปลาสุดได ซึ่งหากเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน
                ดานบัญชี ปฏิบัติงานตามเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีของสวนราชการ โดย

                ใชเกณฑการประเมินเปนตัวควบคุมการปฏิบัติงาน ก็จะสงผลใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมี
                ประสิทธิภาพ โดยรวดเร็ว มีความครบถวนถูกตอง เชื่อถือได ทั้งยังแสดงถึงการตรวจสอบ
                ขอมูลของรายงานทางการเงินที่เสนอตอผูบริหารและหนวยงานอื่นที่ใชขอมูลทางการเงินของ
                สวนราชการ และยังเปนตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานดานบัญชีที่บรรลุวัตถุประสงคของ

                สวนราชการ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของพัชริน วิเศษประสิทธิ์ (2552, น. 1-2) พบวา
                ความนาเชื่อถือของขอมูลทางการบัญชีเปนปจจัยสําคัญที่สะทอนถึงคุณภาพของขอมูล
                ทางการบัญชีซึ่งถือเปนเครื่องมือสําคัญที่ประกอบการตัดสินใจทางการบริหารขององคกร
                ขอมูลทางการบัญชีที่นาเชื่อถือยอมสรางความเชื่อมันใหกับผูใชขอมูลทุกกลุมที่จะนําไปใช

                ประกอบการตัดสินใจใหมีประสิทธิภาพสูงสุดสงผลใหบรรลุตามเปาหมาย สามารถพัฒนา
                องคกรไดอยางตอเนื่องและกอใหเกิดผลลัพธที่ที่สุดแกผูเกี่ยวของทุกฝาย
                       2. ผูปฏิบัติงานดานบัญชีของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย มีความกระตือรือรน
                ในการทํางานดานบัญชี โดยรวมไดแก ดานเอกสาร/หลักฐาน ดานการบันทึกรายการ ดานการ

                จัดทํารายงานการเงิน อยูในระดับมาก เนื่องจากผูปฏิบัติงาน มีกระบวนการจัดเก็บเอกสาร
                หลักฐาน เปนหมวดหมู มีระบบการเขาถึงขอมูลที่สะดวกและปลอดภัยตอการคนหา การ
                บันทึกรายการจะตองบันทึกรายการใหเปนปจจุบัน โดยบันทึกทันที่ที่เกิดเหตุการณทางบัญชี
                ผูปฏิบัติงานดานบัญชีสามารถประมวลผลขอมูลทางบัญชี ออกเปนรายงานการเงินใหถูกตอง

                ตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐแลวเสร็จทันตามเวลาที่กําหนด และสามารถเปดเผยขอมูลตอ
                หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อทําการตรวจสอบตอไป สอดคลองกับการศึกษาของ ไสว นามโยธา
                (2556, น.118) พบวา พนักงานธนาคารออมสินภาค 9 มีความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมีความ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29