Page 19 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 19

14  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018

             บทนํา
                     จากการดําเนินการตามระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบ

             อิเล็กทรอนิกส GFMIS กรมบัญชีกลางไดติดตามตรวจสอบรายงานการเงินของหนวยงานระดับ
             กรมตามเกณฑคงคาง จากระบบ GFMIS โดยรวมขอมูลทางบัญชีจากงบทดลองระดับหนวย
             เบิกจาย ภายใตสังกัดของสวนราชการระดับกรม พบวา รายงานการเงินของสวนราชการระดับ
             กรม ยังมีขอคลาดเคลื่อนเปนจํานวนมาก เนื่องจากมีการนําระบบมาใชอยางเรงดวน และไดมี
             การปรับเปลี่ยนระบบงานมาอยางตอเนื่อง ประกอบกับความซับซอนของระบบที่มีความยากใน

             การปฏิบัติงานมากขึ้น และบุคลากรยังไมสามารถปรับตัวทันกับเทคโนโลยีที่ปรับเปลี่ยนอยาง
             รวดเร็ว จึงมีขอผิดพลาดในการบันทึกบัญชีของสวนราชการเปนจํานวนมาก สงผลใหรายงาน
             การเงินของสวนราชการระดับกรมที่จัดทําขึ้นจากระบบ GFMIS เกิดความผิดพลาดสะสมมา

             ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และกรมบัญชีกลางไดแจงเวียนใหสวนราชการปรับปรุงขอ
             คลาดเคลื่อน ในกระดาษทําการ เพื่อแกไขขอมูลในระบบ GFMIS ใหถูกตองตั้งแตปงบประมาณ
             พ.ศ. 2558 เปนตนมา จากปญหาดังกลาวขางตน กรมบัญชีกลางไดกําหนดเกณฑการประเมินผล
             การปฏิบัติงานดานบัญชีของสวนราชการ โดยเริ่มตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2553 เปนตนมา โดย

             มีวัตถุประสงคเพื่อใหขอมูลทางบัญชีของสวนราชการมีความถูกตอง ครบถวน สมบูรณยิ่งขึ้น
             และเปนตัวผลักดันใหสวนราชการเรงตรวจสอบแกไขขอมูลทางบัญชีของตนเองอยางตอเนื่อง
             สงผลใหรายงานการเงินของสวนราชการมีความนาเชื่อถือยิ่งขึ้น โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2561
             กรมบัญชีกลางไดกําหนดเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีสวนราชการ ซึ่ง

             ประกอบดวย 1) ความถูกตอง (Accuracy) 2) ความโปรงใส (Transparency) และ 3) ความ
             รับผิดชอบ (Accountability) (กรมบัญชีกลาง, 2561, น.1) หากเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานบัญชี
             ปฏิบัติงานตามเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีของสวนราชการ โดยใชเกณฑการ
             ประเมินเปนตัวควบคุมการปฏิบัติงาน ก็จะสงผลใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

             โดยรวดเร็ว มีความครบถวน ถูกตอง เชื่อถือได ทั้งยังแสดงถึงการตรวจสอบขอมูลของรายงาน
             ทางการเงิน ที่เสนอตอผูบริหารและหนวยงานอื่นที่ใชขอมูลทางการเงินของสวนราชการ และยัง
             เปนตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานดานบัญชี ที่บรรลุวัตถุประสงคของสวนราชการ
                     ความกระตือรือรนในการทํางาน (Job Enthusiasm) ของผูปฏิบัติงานดานบัญชี ที่

             แสดงออกถึงการทํางานที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มกําลังความสามารถ มุงมั่นรับผิดชอบตอ
             งาน และตั้งใจในการทํางาน ตั้งแตการนําเอกสารทางการเงิน การวิเคราะหรายการทางบัญชี
             และนําไปบันทึกรายการบัญชีในสมุดรายวันขั้นตน ผานรายการไปยังสมุดรายวันขั้นปลาย จน
             ไปสิ้นสุดกระบวนการสุดทายของการจัดทําบัญชีคือ รายงานการเงิน (กรมบัญชีกลาง, 2558, น.

             7-71) เปนลักษณะสําคัญของผูปฏิบัติงานดานบัญชีที่สวนราชการตองการ เพราะหากเมื่อ
             ผูปฏิบัติงานดานบัญชีมีความกระตือรือรนในการทํางานแลว ยอมสงผลใหองคกรประสบ
             ความสําเร็จ ซึ่งประกอบดวย 4 ดาน ไดแก การเอาใจใสและตั้งใจทํางาน (Attentive and
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24