Page 22 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 22

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   17

                กรอบแนวคิดในการวิจัย
                        การวิจัยเรื่อง ความสัมพันธระหวางการปฏิบัติตามเกณฑการประเมินผลการ

                ปฏิบัติงานดานบัญชีกับความกระตือรือรนในการทํางานของผูปฏิบัติงานดานบัญชี
                มหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย ผูวิจัยไดใชกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังนี้

                           การปฏิบัติตามเกณฑ                       ความกระตือรือรนในทํางาน
                   การประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชี                   (Job Enthusiasm)

                   1.  ความถูกตอง (Accuracy)                    1.  ดานเอกสาร/หลักฐาน
                   2.  ความโปรงใส (Transparency)                  (Collection of financial data)
                   3.  ความรับผิดชอบ (Accountability)            2.  ดานการบันทึกรายการ

                                                                   (Recording of data)
                                                                 3.  ดานการจัดทํารายงานการเงิน
                                                                   (Financial Reporting)


                                         ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

                วิธีดําเนินการวิจัย
                        1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

                         ผูวิจัยไดใชประชากรและกลุมตัวอยาง ดังนี้
                         ประชากร (Population) ที่ใชในการวิจัย กําหนดใหสถาบันเปนหนวยตัวอยาง โดย
                หนวยยอยคือ ผูปฏิบัติงานดานบัญชีของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย จํานวน 38 แหง
                แหงละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 114 คน

                         กลุมตัวอยาง (Sample) ที่ใชในการวิจัย ไดแก ผูปฏิบัติงานดานบัญชีของมหาวิทยาลัย
                ราชภัฏในประเทศไทย โดยกําหนดขนาดตัวอยางจากการเปดตารางการกําหนดขนาดตัวอยาง
                ตามแนวคิดของ Robert V. Krejcie and Daryle W. Morgan, 1970 (จําเริญ อุนแกว, 2553, น.
                8-9) ไดจํานวน 36 แหงตามสัดสวนของกลุมมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยมีกลุมตัวอยาง คือ

                ผูปฏิบัติงานดานบัญชีของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย แหงละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 108 คน
                        2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบสอบถาม ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูปฏิบัติงาน
                ดานบัญชี โดยครอบคลุมขอมูลเกี่ยวกับ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สาขาที่สําเร็จการศึกษา
                ประสบการณ การทํางานในตําแหนงปจจุบัน และกลุมมหาวิทยาราชภัฏที่สังกัด ลักษณะ

                แบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติ
                ตามเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีของสวนราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏใน
                ประเทศไทย จํานวน 3 ดาน ไดแก 1) ความถูกตอง 2) ความโปรงใส 3) ความรับผิดชอบ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27