Page 21 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 21

16  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :   Vol.3 No.1 January-March 2019

             ผูปวยเบาหวาน โดยมีลักษณะของคําตอบเปนมาตรประเมินคาของ Likert scale แบงออกเปน
             5 ระดับที่เทา ๆ กัน มีจํานวนทั้งหมด14 ขอ มีการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือ

             โดยผานผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน แลวนํามาหาคา Content Validity Index (CVI) ของ
             แบบสอบถาม พบวา แบบสอบถามสวนที่  มีคาดัชนีความตรงตามเนื้อหา)  2   CVI) เทากับ 0.70
             และคาความเที่ยงของแบบสอบถาม (Reliability) ไดเทากับ  0. 76 สําหรับแบบสอบถามสวนที่ 3
             มีคาดัชนีความตรงตามเนื้อหา(CVI) เทากับ 0.85 ผลการคัดเลือกขอคําถามเมื่อพิจารณาเกณฑ
             ดัชนีความยากของขอคําถาม สวนที่ 2 พบวา คาดัชนีความยากของขอคําถามทั้ง 13 ขอ อยู

             ในชวง 0.35-0.88 ซึ่งอยูในเกณฑที่ยอมรับได และคาดัชนีอํานาจการจําแนก มีคาตั้งแต 0.2 ขึ้น
             ไปทุกขอ ดังนั้นขอคําถามความรู ทั้ง 13 ขอ มีคุณสมบัติตามเกณฑดังกลาว และนําแบบสอบถาม
             ที่ผานการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือเรียบรอยแลว ไปเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยางซึ่งเปน

             ผูปวยเบาหวานที่นอนโรงพยาบาลและมีคุณสมบัติตามเกณฑที่กําหนดไว จํานวน คน และ   360
             สําหรับการศึกษาปจจัยเสี่ยงการภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําในผูปวยเบาหวาน วิเคราะหขอมูลโดย
             การคํานวณหาคา OR (Odds Ratio) และชวงความเชื่อมั่น 95%Confidence Interval ของ
             OR และการใชสถิติ Multiple Logistic Regression โดยใชวิธี Enter ในการเลือกตัวแปรอิสระ

             เขาสมการ ซึ่งไดรับการตีพิมพใน Journal of Diabetes Mellitus, 2014, 4, 165-171
                     วิธีการวิจัยระยะที่ 2 เปนการสรางแบบคัดกรองความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือด
             ต่ําในผูปวยเบาหวาน โดยมีการกําหนดคุณสมบัติการคัดเลือกกลุมตัวอยางในการวิจัย
             เชนเดียวกับระยะที่ 1 ขนาดตัวอยางในการวิจัยจํานวน 1,200 คน และติดตามกลุมตัวอยางทุก

             คนวาเกิดเหตุการณภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําและไดรับการนอนโรงพยาบาลหรือไม เปนระยะเวลา
             10 เดือน การติดตามโดยระบบนัดและทะเบียนผูปวยเบาหวานของโรงพยาบาล การตรวจสอบ
             คุณสมบัติของแบบคัดกรองโดยการวิเคราะห หาคาพื้นที่ใตโคง ROC (The Area under
             Receiver Operating Characteristic curve) และ 95 % CI  เพื่อหาคาจุดตัดที่เหมาะสม และ

             การประเมินความตรงหรือความถูกตองของแบบคัดกรอง (Validity) โดยการพิจารณา คาความ
             ไว (Sensitivity) ความจําเพาะ (Specificity) และประสิทธิภาพ (Accuracy of test) ของแบบ
             คัดกรอง และคาทํานายหรือคาพยากรณ (Predictive value) และ คา Likelihood Ratio โดยมี

             ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการไดแก คาระดับน้ําตาลในเลือดนอยกวาหรือเทากับ50 มก./ดล.
             ตามเกณฑของสมาคมโรคเบาหวานแหงสหรัฐอเมริกา ใชเปน Gold standardในการศึกษาครั้งนี้

             ผลการวิจัยและอภิปรายผล
                     ผลการวิจัยระยะที่ 1 สําหรับผลการศึกษาปจจัยเสี่ยงการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําใน

             ผูปวยเบาหวาน ไดรับการตีพิมพใน Journal of Diabetes Mellitus, 2014, 4, 165-171พบวา

             กลุมศึกษา เปนเพศหญิง จํานวน  65 )  72.2%) คน เพศชาย จํานวน  25 )  27.8%) คน อายุ
             มากกวาหรือเทากับ 60 ป จํานวน 52 (57.8%) คน อายุนอยกวา 60 ป จํานวน 38 (42.2%) คน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26