Page 26 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 26
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.3 No.1 January-March 2019 21
การศึกษาการประเมินคาจุดตัด(cut-off point) ของแบบคัดกรองความเสี่ยง พบวา
ความสัมพันธระหวางคาคะแนนความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําและการนอน
โรงพยาบาลในผูปวยเบาหวานกับคาความไวและความจําเพาะมีคาแตกตางกันไปตามคาจุดตัด
ของคาคะแนนความเสี่ยงที่แตกตางกันไป นั่นคือ เมื่อคะแนนความเสี่ยงเพิ่มขึ้นจะมีคาความไว
ลดลง แตคาความจําเพาะเพิ่มขึ้น และจุดตัดที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้ คือ คาคะแนนจุดตัด
ที่ 5 ใหความไว (sensitivity) เทากับ 82.1% (95%CI=0.74-0.91) ความจําเพาะ (specificity)
เทากับ 75.9% (95%CI=0.74-0.77) โอกาสเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําเมื่อผลเปนบวก (PPV)
เทากับ 43.8% (95%CI=0.47-0.41) หรือโอกาสที่ผูปวยเบาหวานจะเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา
เมื่อผลการคัดกรองเปนบวก (Post-test Likelihood Ratio if Test Positive) มีคาเทากับ
43.8% และโอกาสไมเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา เมื่อผลเปนลบ (NPV) เทากับ 94.9%
(95%CI=0.94-0.95) และ คา Likelihood Ratio Positive (LR +) เทากับ 3.41 ซึ่งหมายความ
วา ถาผลการคัดกรองเปนบวก ผูปวยเบาหวานมีโอกาสเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา เปน 3.41
เทาของการไมเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา รายละเอียดตามตารางที่ 4
ตารางที่ 4 การศึกษาความไว (sensitivity) ความจําเพาะ (specificity) โอกาสเกิดภาวะน้ําตาล
ในเลือดต่ําเมื่อผลเปนบวก (PPV) และโอกาสไมเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา เมื่อผลเปนลบ
(NPV) และคาความถูกตองของแบบคัดความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา (Accuracy of
test )และการวิเคราะหหาคา Likelihood Ratio ณ จุดตัดที่ 5 และ 6 (n=1,200)
Score sensitivity specificity PPV NPV Accurac Likelihood Prevalenc
(95%CI) (95%CI) (95%CI) (95%CI) y of test ratio e
LR +
Cutoff 5 82.1% 75.9% 43.8% 94.9% 77.1% 3.41 18.58%
(0.74-0.91) (0.74-0.77) (0.41-0.47) (0.94-0.95)
Cutoff 6 74.4% 72.2% 42.7% 92.9% 76.6% 3.26 18.58%
0.72-0.77 0.92-0.93 0.41-0.45 0.92-0.93
การอภิปรายผล
การศึกษานี้เปนการสรางแบบการคัดกรองความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ําในเลือดต่ําใน
ผูปวยเบาหวาน มีตัวแปรที่สําคัญ คือ การไดรับยาเบาหวานชนิดฉีด การไมพกน้ําตาล ลูกอม
หรือขนมหวานไวติดตัวเปนประจําทุกครั้ง การเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําที่บานอยางนอยหนึ่ง
ครั้งใน 1 สัปดาหที่ผานมา การเคยเพิ่มหรือลดขนาดยาเบาหวานดวยตนเอง และการไมมีความรู
ความเขาใจในการอาการและอาการแสดงการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา เมื่อนําเขาสมการ
Logistic regression Model พบวาสามารถทํานายการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําได และ
สมการที่ใชตัวแปรดังกลาว พบวา ณ จุดตัดคาคะแนน ความเสี่ยงที่ 5 สามารถทํานายการเกิด