Page 20 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 20

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.3 No.1 January-March 2019   15

                เขารับการรักษาในโรงพยาบาลดวยภาวะแทรกซอนระยะเฉียบพลันเพิ่มมากขึ้น และจากการ
                สํารวจขอมูลทะเบียนประวัติผูปวยเบาหวานที่นอนโรงพยาบาลยางตลาด ซึ่งเปนโรงพยาบาล

                ชุมชน ขนาด 90 เตียง ดวยภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2551 ถึง

                ปงบประมาณ 2554 พบวา ปงบประมาณ พ.ศ.มีจํานวน 2551 148 คน ปงบประมาณ พ.ศ.
                2552 มีจํานวน 197 คนปงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีจํานวน 217 คน และปงบประมาณ พ.ศ.
                2554 มีจํานวน 223 คน ซึ่งพบวา ผูปวยเบาหวานที่นอนโรงพยาบาลดวยภาวะน้ําตาลในเลือด
                ต่ํามีแนวโนมที่เพิ่มมากขึ้นเชนกัน

                        ดังนั้นดวยเหตุผลที่ไดกลาวมาแลวในขางตน และจากสภาพปญหาความรุนแรงของ
                ภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําในผูปวยเบาหวานที่จะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งคาดการณไดวาในอนาคต อัตรา
                ปวยและอัตราตายดวยโรคเบาหวานอันเนื่องมาจากภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําจะมีแนวโนมที่สูงขึ้น

                เชนกัน และจะสงผลกระทบตอการสูญเสียภาวะเศรษฐกิจของประเทศได ซึ่งอัตราปวยและอัตรา
                ตาย เปนตัวบงบอกถึงความรุนแรงของโรคและคุณภาพการดําเนินงานการใหบริการทาง
                การแพทยโดยเฉพาะดานการรักษาพยาบาลวาไดผลมากนอยเพียงใด ดังนั้นการดําเนินงานการ
                ดูแลสุขภาพในการปองกันและควบคุมภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานทั้งในประเทศและ

                ตางประเทศ จึงควรมีการพัฒนาแนวทางการดูแลใหมีประสิทธิภาพ และการศึกษาการสรางแบบ
                คัดกรองความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําในผูปวยเบาหวาน จึงเปนแนวทางหนึ่งที่
                สําคัญในการดําเนินงานการดูแลและปองกันภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานใหมีประสิทธิภาพ
                ดียิ่งขึ้นได ซึ่งการคัดกรองนี้เปนจุดเริ่มตนของการคนหาและทํานายลวงหนาถึงความเสี่ยงการ

                เกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําในผูปวยเบาหวานและเปนสิ่งสําคัญตอการควบคุมความรุนแรงและ
                ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานที่จะเพิ่มมากขึ้นกับผูปวยเบาหวานไดในอนาคต วิธีการวิจัย
                แบงเปน 2 ระยะ ดังนี้
                        วิธีการวิจัยระยะที่ 1 ศึกษาปจจัยเสี่ยงที่มีผลตอการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําในผูปวย

                เบาหวาน โดยการคัดเลือกคุณสมบัติกลุมตัวอยาง คือ เปนผูปวยเบาหวานที่ไดรับการวินิจฉัยจาก
                แพทยและไดขึ้นทะเบียนเปนผูปวยเบาหวาน อายุตั้งแต ปขึ้นไป สําหรับผูปวยเบาหวานที่  20
                ตั้งครรภและมีปญหาดานสุขภาพจิตและการรับรูไมสามารถพูดคุยโตตอบไดจะไมนํามาทําการ
                วิจัย และผูปวยเบาหวานที่นอนโรงพยาบาลดวยภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา(ระดับน้ําตาลนอยกวา

                หรือเทา  50  mg/dl หรือมีอาการเหงื่อออกตัวเย็น/ใจสั่นหนามืดคลายจะเปนลม ) คือ กลุมศึกษา
                (Case) จํานวน  คน สวนผูปวยเบาหวานที่นอนโรงพยาบาลดวยสาเหตุอื่น คือ กลุมควบคุม   90
                )Control) จํานวน 270 คน รวมจํานวนขนาดตัวอยางทั้งหมด 360 คน เครื่องมือที่ใชใน
                การศึกษา มี 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 แบบบันทึกการเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําที่บาน และชุดที่ 2

                แบบสอบถาม ประกอบดวย 3 สวน คือ สวนที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปของประชากร สวนที่ 2
                ความรูเรื่องโรคเบาหวานและยาเบาหวาน ลักษณะขอคําถามเปนแบบชนิดเลือกตอบ 2 ตัวเลือก
                คือ “ใช” และ “ไมใช” มีจํานวนทั้งหมด 13 ขอ และสวนที่ 3 การปฏิบัติตัวการดูแลตนเองของ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25