Page 42 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 42

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   37

                ผลการวิจัย
                        1. ขอมูลทั่วไปของคนในชุมชน

                        พบวา คนในชุมชนขัวไมแกน หมู 2 จํานวน 242 คน พบวา เปนเพศหญิง จํานวน 166
                คน รอยละ 68.6 เพศชาย จํานวน 76 คน รอยละ 31.4 มีอายุ ตั้งแต <20 ถึง >80ป ที่มีอายุ
                มาก 61–70 ป จํานวน 83 คนรอยละ 34.30 รองลงมาอายุ 51–60 ป จํานวน 43 คน รอยละ
                17.77 และอายุที่มีจํานวนนอยสุด ไดแก ผูที่มีอายุนอยกวา 20 ป จํานวน 4 คน รอยละ 1.6 ดัง
                ตารางที่ 1 ดังนี้


                ตารางที่ 1 แสดงเพศ อายุ ของคนในชุมชนขัวไมแกน ( n=242)

                          ประเภท                   จํานวน                     รอยละ
                   เพศ
                           หญิง                      166                       68.6

                            ชาย                      76                        31.4
                   อายุ
                           นอยกวา 20 ป             4                        1.6
                          21-30 ป                   25                       10.33

                          31-40 ป                    9                        3.72
                          41-50 ป                   32                       13.22

                          51-60 ป                   43                       17.77
                          61-70 ป                   83                       34.30
                          71-80 ป                   32                       13.22
                             มากกวา 80 ป           14                        5.79


                        2. ขอมูลเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพของชุมชนขัวไมแกน
                        2.1 ดานอนามัยสิ่งแวดลอม ไดแก ครัวเรือนมีสุขาภิบาลไมถูกลักษณะมากถึง รอยละ

                6.38 มีการกําจัดขยะมูลฝอยที่ไมถูกสุขลักษณะโดยการเผาขยะพบมากถึงรอยละ 17.02 บริเวณ
                บานมีลักษณะน้ําทวมขัง รอยละ 8.51 พบวามีสัตวนําโรค และสัตวที่เปนปญหาที่จะสงผลตอ
                ภาวะสุขภาพมากถึงรอยละ 89.36 ไดแก หนูรอยละ 29.17 แมลงสาบรอยละ 20.83 ยุงรอยละ
                27.08 และแมลงวันรอยละ 22.92 สภาพแวดลอมที่เสี่ยงตอปญหาสุขภาพพบมากถึงรอยละ

                36.17 ไดแก มลพิษทางอากาศรอยละ 94.12 และมลพิษทางเสียงรอยละ 5.88 ดังตารางที่ 2
                ดังนี้
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47