Page 41 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 41
36 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018
n = ขนาดของกลุมตัวอยาง
N = ขนาดของประชากร
e = ระดับความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยางที่ยอมรับได
2χ= คาไคสแควรที่ df เทากับ 1 และระดับความเชื่อมั่น 95% (χ =3.841)
2
p = สัดสวนของลักษณะที่สนใจในประชากร (ถาไมทราบใหกําหนด p = 0.5)
4. การเก็บขอมูล โดยคณะผูวิจัยทําการอธิบายแบบสอบถามใหนักศึกษาพยาบาลมี
ความเขาใจกอน นําไปแจกจายใหกับประชาชนในชุมชนขัวไมแกน จํานวน 242 คน โดยให
นักศึกษาพยาบาล นัดหมายการขอรับแบบสอบถามคืนภายใน 2-3 วันกอนสิ้นสุดการฝก
ปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน มีการตรวจสอบความสมบูรณกอนรวบรวบสงใหคณะวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) กลุมตัวอยาง
ประกอบดวยประชาชนในชุมชนขัวไมแกน หมู 2 ตําบลหนองกินเพล อําเภอวารินชําราบ จังหวัด
อุบลราชธานี ที่เปนแหลงฝกปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาลศาสตร จํานวน 242 คน ตั้งแต 10
มิถุนายน–18 กรกฎาคม 2561
เครื่องมือในการวิจัยและคุณภาพเครื่องมือ
เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดประยุกตมาจากแบบสอบถามของ พิมพใจ อุนบาน
(2559) ประกอบดวย 3 สวน ไดแก
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
สวนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพของชุมชนขัวไมแกน
สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับ แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนในชุมชนตอนักศึกษา
พยาบาล
แบบสอบถามมีลักษณะเปนแบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) ชนิด 5 ระดับ นํา
แบบสอบถามมาวิเคราะหหาความเที่ยงดวยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค
(Cronbarch’s Alpha Coefficient) แบบสอบถามมีคาความเที่ยง เทากับ .817
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
สามารถนําปญหาที่ไดจากชุมชนนําไปจัดทําเปนโครงการในการพัฒนาภาวะสุขภาพ
ของประชาชนในชุมชนขัวไมแกนใหมีความเข็มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได ตอไป
การวิเคราะหขอมูล
วิเคราะหขอมูล โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย และ
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน