Page 40 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 40

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   35

                ผูใชบริการทุกระดับตั้งแตบุคคลครอบครัวชุมชนและสังคม (กีรดา ไกรนุวัตร, 2551: 10-11) การ
                พยาบาลอนามัยชุมชนจึงเปนปฏิบัติการที่ตองบูรณาการความรูทางการพยาบาลอนามัยชุมชน

                และการสาธารณสุขการแพทยและการสาธารณสุข รวมถึงระบาดวิทยาจิตวิทยาและอื่น ๆ เขา
                ดวยกันอยางกลมกลืน (Anderson & McLand, 2000) ในชุมชนโดยยึดหลักการมีสวนรวมของ
                ชุมชนเปนสําคัญ ดังนั้นโดยคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี สาขาวิชาการปฏิบัติการ
                พยาบาลอนามัยชุมชน เลือกโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลปากกุดหวาย ที่มีความพรอมใน
                ดานของชุมชนและใหการสนับสนุนการเรียนการสอนโดยประสานทางสาธารณสุขอําเภอและ

                แหลงฝกโดยตรงไดประชุมรวมกันเพื่อหาพื้นที่ คือ เขตอําเภอวารินชําราบ โดยมอบหมายเขาฝก
                ในชุมชนขัวไมแกน หมู 2 ตําบลหนองกินเพล ซึ่งจากการติดตามผลการปฏิบัติการพยาบาล
                อนามัยชุมชนที่ผานมา ยังไมพบการติดตามดานปญหาและความตองการของประชาชนในชุมชน

                ขัวไมแกน และความพึงพอใจตอการฝกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชนของนักศึกษาพยาบาล
                ดังนั้น คณะผูวิจัยไดตระหนักถึงความสําคัญที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ
                เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูสูงสุดและเปนไปตามตองการของประชาชนในชุมชนขัวไมแกน และ
                แกไขปญหาไดตรงตามตองการซึ่งจะนําไปสูความเขมแข็งของชุมชนและยั่งยืนตอไป


                วัตถุประสงคของการวิจัย
                        1. เพื่อศึกษาปญหาและความตองการของประชาชนในชุมชนขัวไมแกน หมู 2 ตําบล
                หนองกินเพล

                        2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ตอการเรียนวิชาสอนการฝกปฏิบัติการพยาบาลอนามัย
                ชุมชนของประชาชนในชุมชนขัวไมแกน หมู 2 ตําบลหนองกินเพล

                สมมุติฐานการวิจัย

                        ความพึงพอใจตอการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน ของคนใน
                ชุมชนขัวไมแกน หมู 2 อยูในระดับมาก

                วิธีการดําเนินการวิจัย

                        1. ประชากรศึกษา ไดแก ประชาชนในชุมชนขัวไมแกน จํานวน 650 คน
                        2. กลุมตัวอยาง แบบเจาะจง จํานวน 242 คน
                        3. การสุมตัวอยาง ไดมาจากการเทียบตารางคํานวณการสุมตัวอยางของเครจซี่และมอร
                แกน (Krejcie & Morgan, 1970 อางในธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45