Page 46 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 46

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   41

                ละ 59.0 ตามมาดวยน้ําดื่มบรรจุขวดและน้ําประปารอยละ 20.0 ทั้งนี้ประมาณสองในสามไมมี
                การปรับปรุงคุณภาพน้ํากอนดื่ม รอยละ 36.0ซึ่ งสอดคลองการศึกษาของศศิวิมล บูรณะเรข

                และคณะ (2560: 58) ในการใชน้ําประปาในการบริโภครอยละ 84.76 ใชนํ้าประปาในการ
                อุปโภครอยละ 100.00 ทั้งนี้ เปนเพราะวา ชุมชนขัวไมแกนเปนชุมชนที่มีบริเวณปาชุมชนจํานวน
                มากลอมรอบ มีถนนเขาถึงชุมชนทุกบานเปนสวนใหญ และบางสวนทางเขาบานเปนทางเดิน
                สาธารณะคอนขางแคบ ยังไมมีการทําทางระบายน้ํา ซึ่งจะตางจากชุมชนในเมืองจะมีทางระบาย
                น้ําลงสูทอระบายใหญ เพื่อลดมลภาวะทางน้ําในหมูบาน และน้ําที่ใชอุปโภคและบริโภคในชุมชน

                สวนใหญไดมาจากน้ําประปาในเมืองมาพักในถังพักน้ําในหมูบานและแจกจายไปตามบาน
                ครัวเรือนในชุมชนสวนครอบครัวที่อยูหางไกลจากแหลงจายน้ํา ก็จะอาศัยน้ําบาดาลใชเอง ซึ่ง
                ไมไดตรวจคุณภาพน้ําแตอยางใด

                        ดานพฤติกรรมรับประทานอาหารอาหาร ชุมชนขัวไมแกน สวนใหญมีความเสี่ยงตอการ
                เปนโรคไมติดตอเรื้อรัง สาเหตุเพราะ สวนใหญชอบรับประทานอาหารประเภทไขมัน ชอบ
                รับประทานขนมหวานที่ปรุงรสดวยกะทิและชอบอาหารประเภทรสเค็มจัดและรสหวานจัด ซึ่ง
                แตกตางจากการศึกษาของมโนสี ศรีเปารยะ เพ็ญพงษ (2559: 107) พบวาการรับประทาน

                อาหารประเภทแปง คือ กวยเตี๋ยว ขนมจีน วุนเสน คาเฉลี่ย 3.25 อยูในระดับปานกลาง ของ
                หวานประเภทขนมหวานพื้นบานไทย เชน ลอดชอง กลวย เชื่อม คาเฉลี่ย 3.19 อยูในระดับปาน
                กลาง
                        2. ผลการศึกษาความพึงพอใจตอการเรียนการสอนการปฏิบัติการพยาบาลอนามัย

                ชุมชนของประชาชนในชุมชนขัวไมแกนหมู2 ตําบลหนองกินเพล
                        ผลการศึกษาความพึงพอใจของคนในชุมชนขัวไมแกน หมู 2 ในภาพรวมทั้ง 3 ดาน อยู
                ในระดับมากและเปนตามสมมติฐานที่ไดกลาวไว ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากกระบวนการเตรียมความ
                พรอมของ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา

                ปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน มีการจัดการเรียนการสอนเปนลําดับขั้นเพื่อเตรียมความพรอม
                ใหนักศึกษาพยาบาลมีความรูในเชิงทฤษฎี เพื่อปลูกฝงเจตคติที่ดีตอวิชาชีพพยาบาล และตอการ
                ทํางานเพื่อชวยเหลือเพื่อนมนุษยที่เจ็บปวยและไดรับความทุกขทรมาน โดยการนําความรู
                ความสามารถในการปฏิบัติการพยาบาลทั้ง 4 ดาน คือ การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การ

                รักษาพยาบาล และการฟนฟูสภาพแบบองครวม (ประนอม, 2544) โดยใชรูปแบบการเรียนการ
                สอนที่หลากหลายเพื่อใหนิสิตเกิดความเขาใจในเชิงทฤษฎีอยางลึกซึ้งกอนที่จะลงฝกปฏิบัติใน
                ชุมชนซึ่งเปนสถานการณจริง และในภาคปฏิบัติมีอาจารยผูเชี่ยวชาญคอยควบคุม ดูแล ชี้แนะ
                การฝกปฏิบัติใหแกนิสิตพยาบาลอยางใกลชิด ทําใหประชาชนมีความพึงพอใจอยูในระดับสูง

                สอดคลองกับการศึกษาของ ณิชารีย ยิ่งวิริยะ (2547) โดยศึกษาติดตามผลการดําเนินงานพัฒนา
                อนามัยชุมชนแบบมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนแหลงฝกวิชาการพยาบาลอนามัยชุมชน 3
                ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร ชั้นปที่ 4 รุนที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี พบวา
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51