Page 45 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 45

40  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             ในการทํางานอยูในระดับมาก ( X = 4.47, SD = .568) และดานจรรยาบรรณวิชาชีพอยูในระดับ
             มากสุด ( X = 4.59, SD = .537) ดังตารางที่ 5 ดังนี้


             ตารางที่ 5 ระดับความพึงพอใจตอการปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน ดานสมรรถนะวิชาชีพ
             ดานความรูความสามารถในการและดานจรรยาบรรณวิชาชีพ (n=242)

                                                            X                  ระดับความ
               ลําดับ               รายการ                           S.D.
                                                                                พึงพอใจ
                 1     ดานสมรรถนะวิชาชีพ                  4.34      .579         มาก
                 2     ดานความรูความสามารถในการทํางาน    4.47      .568         มาก

                 3     ดานจรรยาบรรณวิชาชีพ                4.59      .537        มากสุด

             สรุปและอภิปรายผล

                     ในการศึกษาครั้งนี้สามารถสรุปและอภิปรายผลการวิจัย ไดดังนี้
                     1. ผลการศึกษาปญหาและความตองการของประชาชนในชุมชนขัวไมแกน หมู 2 ตําบล
             หนองกินเพล
                     ดานสิ่งแวดลอม สํานักงานอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย (2560) ใหความหมายวา

             สิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวมนุษย ทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นโดยลีกษณะทางกายภาพที่มองเห็นได จับตองได หรือ
             สัมผัสดวยประสาทสัมผัสอื่น ๆ ได เชน มนุษย พืช สัตว ดิน น้ํา อากาศ สิ่งของตาง ๆ หรือเปน
             นามธรรม ซึ่งไมสามารถมองเห็นหรือสัมผัสดวยประสาทสัมผัสอื่น ๆ ได เชน ขนมธรรมเนียม

             ประเพณีวัฒนธรรม และความเชื่อตาง ๆ จากการศึกษาพบวา ชุมชนขัวไมแกนมีการกําจัดขยะ
             มูลฝอยที่ไมถูกสุขลักษณะโดยการเผาขยะ บริเวณบานมีลักษณะน้ําทวมขัง มีสัตวนําโรค และ
             สัตวที่เปนปญหาที่จะสงผลตอภาวะสุขภาพมาก ไดแก หนู แมลงสาบ ยุง และแมลงวัน
             สภาพแวดลอมที่เสี่ยงตอปญหาสุขภาพพบมาก ไดแก มลพิษทางอากาศ เนื่องจากมีโรงเตาเผาอิฐ
             ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของกิตติพงศ พลเสน และคณะ (2559: 27) พบวา

             ดานสิ่งแวดลอม พบ 3 ปญหา ไดแก (1) สุขาภิบาลสิ่งแวดลอมในบริเวณบานไมดี ไมดูแลรักษา
             ความสะอาดและสภาพสิ่งแวดลอมภายในบาน (2) ปญหาการจัดการขยะในชุมชน เชน ยังไมมี
             การคัดแยกขยะและการกําจัดขยะ และ (3) มีแหลงเพาะพันธุยุงลายและสัตวนําโรคอื่น ๆ ใน

             ชุมชน และสอดคลองกับการศึกษาของศศิวิมล บูรณะเรข และคณะ (2560: 58) พบวามีจํานวน
              1 ใน 3 ของจํานวนหลังคาเรือนทั้งหมดที่มีน้ําทวมขังในบริเวณบานรอยละ 33.54 และมียุงเปน
              พาหะนําโรค รอยละ 99.39
                     ดานพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภคน้ําดื่ม และพฤติกรรมการรับประทานอาหาร พบวา

              สวนใหญใชน้ําประปาของหมูบานที่ผลิตเอง แตก็ยังพบวาดื่มน้ําไมถูกสุขลักษณะและไมมีการ
             กรองเพิ่ม และสวนนอยยังใชน้ําไมสะอาดในการอุปโภค เชน นํามาอาบน้ํา ทําความสะอาด
             ครัวเรือน ซึ่งการศึกษาของกิตติพงศ พลเสน และคณะ (2559: 26) พบวาประชากรดื่มนําฝนรอย
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50