Page 35 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 35

30  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             ตารางที่ 3 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการปรับตัวในการทํางานของกลุมตัวอยาง
             จําแนกตามปจจัยดานการนําความรู และทักษะการพยาบาลมาใช ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับ

             ภาระงาน ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับกฏระเบียบขอบังคับ ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิก
             ในกลุม อาจารยนิเทศ และปจจัยดานการปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ
              ลําดับ      ปจจัยที่สงผลตอระดับการปรับตัว      x̄     SD  ระดับการปรับตัว
                ที่                ในการทํางาน                                 ในการทํางาน

                1.  ดานการปรับตัวใหเขากับกฏระเบียบขอบังคับ   4.53  2.398     ระดับสูง
                2.  ดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุม      4.07  2.311       ระดับสูง
                     อาจารยนิเทศ
                3.  ดานการปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ   3.78  1.655   ระดับกลาง

                4.  ดานการนําความรู และทักษะการพยาบาลมาใช  3.52  2.933       ระดับกลาง
                5.  ดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน            3.2  2.764       ระดับกลาง

                     4. ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยดานการนําความรู และทักษะการ

             พยาบาลมาใช ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับกฏ
             ระเบียบขอบังคับ  ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุม อาจารยนิเทศ และปจจัยดาน
             การปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ พบวาปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน มี

             ความสัมพันธทางลบเมื่อเปรียบเทียบกับปจจัยดานลักษณะสวนบุคคลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
             และปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับกฏระเบียบขอบังคับมีความสัมพันธทางบวกเมื่อเปรียบเทียบ
             กับปจจัยดานลักษณะสวนบุคคลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4)


             ตารางที่ 4 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการนําความรู และทักษะการพยาบาลมาใช ปจจัย
             ดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน  ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับกฎระเบียบขอบังคับ ปจจัย
             ดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุม อาจารยนิเทศ และปจจัยดานการปรับตัวตอสถานที่ใน

             การขึ้นฝกปฏิบัติ เปรียบเทียบกับปจจัยดานลักษณะสวนบุคคลของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 2
             โดยใชสถิติคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson correlation coefficient)
                               ตัวแปร/ปจจัย                   เพศ     อายุ      ผลสัมฤทธิ์

                                                                                ทางการเรียน
                การนําความรู และทักษะการพยาบาลมาใช          -.175  -.122         -.016
                การปรับตัวใหเขากับภาระงาน                   -.231*  -.024        -.039
                การปรับตัวใหเขากับกฏระเบียบขอบังคับ        .220*  -.132         .102
                การปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุมอาจารยนิเทศ   .010   -.062       .028

                การปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ        .060    -.028       .093
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40