Page 34 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 34

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   29

                ตารางที่ 1 จํานวน และรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลสวนบุคคล
                               กลุมตัวอยางนักศึกษาชั้นปที่ 2         จํานวน (n)    รอยละ

                           เพศ                       หญิง                  87         87.00
                                                      ชาย                  13         13.00
                           อายุ (ป)                  19                   12         12.00
                                                      20                   85         85.00

                                                      21                    3          3.00
                   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน    ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา      10         10.00
                                                 (นอยกวา 2.50)

                                            ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง       90         90.00
                                                 (2.51 – 4.00)

                        2. ผลการวิเคราะหระดับการปรับตัวของกลุมตัวอยาง พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมี

                ระดับการปรับตัวในการทํางานอยูในระดับสูง จํานวน 75 คน คิดเปนรอยละ 75 รองลงมามีการ
                ปรับตัวในการทํางานอยูในระดับระดับกลาง จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 25 และไมมีกลุม
                ตัวอยางใดเลย ที่มีการปรับตัวในการทํางานอยูในระดับต่ํา (ตารางที่ 2)


                ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของการปรับตัวของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการปรับตัวในการทํางาน
                          ระดับการปรับตัวในการทํางาน      จํานวน (n)            รอยละ

                                ระดับสูง                      75                 75.00
                               ระดับกลาง                      25                 25.00
                                ระดับต่ํา                     0                  00.00
                                 รวม                         100                100.00


                        3. ผลการวิเคราะหระดับการปรับตัวในการทํางาน จําแนกตามปจจัยดานการนําความรู และ
                ทักษะการพยาบาลมาใช ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับ

                กฎระเบียบขอบังคับ ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุม อาจารยนิเทศ และปจจัยดานการ
                ปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ พบวา ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับกฎระเบียบขอบังคับ
                เปนการปรับตัวในการทํางานของกลุมตัวอยางในระดับสูงที่สุด (x̄ = 4.53, SD = 2.398) รองลงมา คือ
                ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุม อาจารยนิเทศ (x̄  = 4.07, SD = 2.311) ปจจัยดานการ

                ปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ (x̄ = 3.78, SD = 1.655) ปจจัยดานการนําความรู และทักษะ
                การพยาบาลมาใช (x̄  = 3.52, SD = 2.933) และปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน เปนปจจัย

                ที่ทําใหกลุมตัวอยางมีการปรับตัวในการทํางานนอยที่สุด (x̄  = 3.2, SD = 2.764) (ตารางที่ 3)
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39