Page 33 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 33
28 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018
พยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปที่ 2 จํานวน 20 คนที่ไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อตรวจสอบความเชื่อมั่น
ของเครื่องมือ (Reliability) โดยใชสูตรประสิทธแอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha
coefficient ) ไดคาความเชื่อมั่น 0.97
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล
1. ขออนุมัติจริยธรรมจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย วิทยาลัยพยาบาล
และสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
2. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลในกลุมตัวอยางมีการเก็บขอูลมาจากแหลงขอมูล
ปฐมภูมิ (Primary data) เปนขอมูลที่มาจากการรวบรวมขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะห ซึ่งผูวิจัยได
ดําเนินการเก็บตัวอยางดวยตนเอง พรอมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค และขอความรวมมือในการเก็บ
ขอมูลจากกลุมตัวอยาง
การวิเคราะหขอมูล
1. การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ขอมูลปจจัยดานลักษณะสวน
บุคคล ดานเพศ อายุ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชสถิติความถี่ (Frequency) และคารอย
ละ (Percentage)
2. การวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยดานการนําความรู และทักษะการพยาบาล
มาใช ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับกฎระเบียบ
ขอบังคับ ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุม อาจารยนิเทศ และปจจัยดานการ
ปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ โดยใชสถิติ Chi-square
3. การวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยดานการนําความรู และทักษะการพยาบาล
มาใช ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับภาระงาน ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับกฏระเบียบ
ขอบังคับ ปจจัยดานการปรับตัวใหเขากับสมาชิกในกลุม อาจารยนิเทศ และปจจัยดานการ
ปรับตัวตอสถานที่ในการขึ้นฝกปฏิบัติ เปรียบเทียบกับปจจัยดานลักษณะสวนบุคคลของนักศึกษา
พยาบาลชั้นปที่ 2 โดยใชสถิติคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson correlation
coefficient)
ผลการวิจัย
1. ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคล พบวากลุมตัวอยางซึ่งเปนนักศึกษาพยาบาล ชั้นป
ที่ 2 ปการศึกษา 2560 สวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 87 มีอายุ 20 ป รอยละ 85 รองลงมามี
อายุ 19 ป รอยละ 12 และอายุ 21 ป รอยละ 3 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง (เกรดเฉลี่ย
สะสมอยูระหวาง 2.51–4.00) รอยละ 90 (ตารางที่ 1)