Page 22 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 22
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018 17
สนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไมมีความสัมพันธกับการควบคุมระดับน้ําตาลใน
เลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงในตาราง
ตารางที่ 1 แสดงคาความสัมพันธระหวางปจจัยขอมูลสวนบุคคล ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ กับการควบคุมระดับน้ําตาลของผูปวย
เบาหวานชนิดที่ 2 (n = 118)
ปจจัยที่ศึกษา X df p-value
2
ขอมูลสวนบุคคล
เพศ 1.21 1 0.27
อายุ 0.25 1 0.65
ดัชนีมวลกาย 6.68 1 0.01*
อาชีพ 0.23 1 0.64
สถานภาพสมรส 3.66 1 0.06
ระดับการศึกษา 0.45 1 0.50
ระยะเวลาการดําเนินโรค 0.16 1 0.69
การมาตรวจตามนัด 5.00 1 0.03*
ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 3.18 1 0.07
การสนับสนุนทางสังคม 0.35 1 0.55
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 1.96 1 0.16
*p <. 05
สรุปและอภิปรายผล
การวิจัยครั้งนี้ เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคล ความรูเกี่ยวกับ
โรคเบาหวาน การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ กับการควบคุมระดับ
น้ําตาลของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพสวน
ตําบลหนองกินเพล จังหวัดอุบลราชธานี จากผลการวิจัย สามารถอภิปรายผลไดดังนี้
1. ความสัมพันธระหวางปจจัยดานขอมูลสวนบุคคลกับการควบคุมระดับน้ําตาลใน
เลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2
อายุ จากการศึกษานี้พบวา อายุไมมีความสัมพันธกับการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด
ของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 สอดคลองกับของดวงใจ พันธอารีวัฒนา (2561) และการศึกษาของ
อุสา พุทธรักษ และคณะ (2558) พบวาผูที่เปนเบาหวานที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลใน
เลือดใหอยูในระดับปกติได สวนใหญจะเปนผูสูงอายุ ซึ่งเปนชวงที่ตองประสบกับการ
เปลี่ยนแปลงของชีวิต ที่เปนภาวะวิกฤตและปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมไดยากขึ้น ดังนั้นเมื่อ
อายุมากขึ้นก็ยิ่งทําใหผูเปนโรคเบาหวานรูสึกวาตนเอง ตองพึ่งพาผูอื่นมากขึ้น ตองเปนภาระตอ