Page 24 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 24

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   19

                        ระยะเวลาของโรค จากการศึกษานี้พบวา ระยะเวลาของโรคไมมีความสัมพันธกับ
                การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 สอดคลองกับการศึกษาของอุสา

                พุทธรักษ และคณะ (2557) ซึ่งศึกษาในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เขารับการรักษาที่โรงพยาบาล
                สงเสริมสุขภาพตําบลกางปลา จังหวัดเลย พบวา ระยะเวลาของโรค ไมมีความสัมพันธกับการ
                ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 อาจเนื่องมาจากการที่ผูสูงอายุมี
                ระยะเวลาที่เปนโรคเบาหวานนาน ทําใหเซลลเบตาในตับออนมีความเสื่อม และระดับน้ําตาลใน
                เลือดมีโอกาสสูงไดมาก ทําใหการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดทําไดยากขึ้น

                        การมาตรวจตามนัด จากการศึกษานี้พบวา การมาตรวจตามนัดมีความสัมพันธกับ
                การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
                0.05 ซึ่งไมสอดคลองกับการศึกษาของอนุชา คงสมกัน (2555) พบวาการมาตรวจตามนัด

                สม่ําเสมอไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวาน
                อธิบายไดวาการมาพบบุคลากรทางการแพทยจะทําใหไดรับการแนะนําเพื่อนําไปแกไข ทําใหเกิด
                การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไดดี สวนในรายที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลไดแมจะมา
                ตรวจตามนัดอาจเกิดจากผูเปนเบาหวานสวนใหญคิดวาการมาตรวจตามนัดคือการมารับยาเพียง

                อยางเดียว แตหากไมปฏิบัติพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพรวมดวยอาจทําใหการควบคุมระดับน้ําตาล
                ในเลือดไมมีประสิทธิภาพ
                        2. ความสัมพันธระหวางปจจัยดานความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานกับการควบคุมระดับ
                น้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2

                        จากการศึกษานี้พบวา ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานไมมีความสัมพันธกับการควบคุม
                ระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 สอดคลองกับผลการวิจัยของกุสุมา กังหลี
                (2557) แตแตกตางจากผลการศึกษาของสุจิตรา บุญประสิทธิ์ และคณะ (2559) ในผูสูงอายุ
                โรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไมได พบวาความรูในการดูแลตนเอง มีความสัมพันธ

                ทางบวกกับการจัดการตนเองในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด ในระดับปานกลาง (r= .65,
                .36, .30 ตามลําดับ) อธิบายไดวาผูปวยเบาหวานที่มารับบริการที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
                ตําบลหนองกินเพล ทุกครั้งจะมีการใหความรูเรื่องของการดูแลตนเองและการปฏิบัติตัวซึ่งเปน
                ความรูเรื่องเดิมซ้ํา ๆ เปนระยะเวลานาน อาจทําใหเกิดความรูสึกเบื่อหนาย เนื่องจากบางครั้ง

                ความรูที่ไดรับ อาจจะไมตรงกับปญหาของผูเปนโรคเบาหวาน จึงทําใหละเลยการปฏิบัติตนใน
                การดูแลตนเองที่เหมาะสม สงผลใหการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไดไมดี
                        3. ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการสนับสนุนทางสังคมกับการควบคุมระดับ
                น้ําตาลในเลือดของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2

                        จากการศึกษานี้พบวา การสนับสนุนทางสังคมไมมีความสัมพันธกับการควบคุมระดับ
                น้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคลอง
                กับการศึกษาของกุสุมา กังหลี (2557) แตแตกตางจากการศึกษาของสุจิตรา บุญประสิทธิ์ และ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29