Page 19 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 19

14  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             แพทยตามนัดครั้งสุดทาย 4) ผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 มีการรับรูเกี่ยวกับเวลา สถานที่ บุคคลเปน
             ปกติ หรือไดรับการยืนยันจากประวัติการรักษาของแพทย ญาติ หรือผูดูแลหลักวาไมมีภาวะ

             สมองเสื่อม เกณฑการคัดออก (Exclusion criteria) คือ ผูที่มีโรคแทรกซอนหรือโรคอื่น ๆ ที่
             รุนแรง เชน ไตวาย ระยะที่ตองฟอกไต ตามัวมากจนมีปญหาการมองเห็น อัมพาต

             เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถาม แบงออกเปน 3 สวนดังนี้
                     สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวย เพศ อายุ ดัชนีมวลกาย (BMI) อาชีพ

             สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาระยะเวลาการดําเนินโรค คาเฉลี่ยระดับน้ําตาลในเลือด
             (HbA1C) ยอนหลัง 2-3 เดือน และการมาตรวจตามนัด ลักษณะคําถามเปนแบบปลายปด
                     สวนที่ 2 แบบสอบถามเรื่องความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน เปนแบบสอบถามของกุสุมา

             กังหลี (2557) เพื่อประเมินความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ประกอบดวยขอคําถามจํานวน 11 ขอ
             ลักษณะคําถามเปนแบบเลือกตอบ โดยใหเลือกตอบขอที่ถูกตองและมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้
             ตอบถูก ได 1 คะแนน และตอบผิดได 0 คะแนน แปลผลเปน 2 ระดับ คือ มีความรูในระดับมาก
             คือ ตอบถูกมากกวาและเทากับ 9 คะแนน และมีความรูในระดับนอย คือ ตอบถูกนอยกวา 9

             คะแนน
                     สวนที่ 3 แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม เปนแบบสอบถามของกุสุมา กังหลี
             (2557) เพื่อประเมินการสนับสนุนทางสังคม 2 ดาน ประกอบดวยการเขาถึงบริการจํานวน 5 ขอ
             การไดรับขอมูลขาวสารจํานวน 7 ขอ โดยมีลักษณะคําตอบเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating

             scale) 4 ระดับ ดังนี้ มาก ปานกลาง นอย และไมเคยไดรับเลย แปลผลเปนคาคะแนนเฉลี่ยการ
             สนับสนุนทางสังคม 2 ระดับ คือมีคะแนนเฉลี่ยมากกวาและเทากับ 2.5 คะแนน แสดงวามี
             คะแนนการสนับสนุนทางสังคมในระดับสูง และคะแนนเฉลี่ยนอยกวา 2.5 คะแนน แสดงวามี
             คะแนนการสนับสนุนทางสังคมในระดับต่ํา

                     สวนที่ 4 แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ เปนแบบประเมินพฤติกรรมการ
             ดูแลสุขภาพของ กุสุมา กังหลี (2557) แบงเปน 3 ดาน ไดแก การควบคุมอาหารการออกกําลัง
             กายและการรับประทานยา ประกอบดวยขอคําถาม 15 ขอ เปนคําถามทางบวก 13 ขอ คําถาม
             ทางลบ 2 ขอ โดยมีลักษณะคําตอบเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) 4 ระดับ คือ

             ปฏิบัติเปนประจําปฏิบัติบอยครั้ง ปฏิบัติเปนบางครั้ง ไมเคยปฏิบัติ แปลผลเปนคาคะแนนเฉลี่ย
             พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 2 ระดับ คือ มีคะแนนเฉลี่ยมากกวาและเทากับ 2.5 คะแนน แสดงวา
             มีคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพในระดับสูง และคะแนนเฉลี่ยนอยกวา 2.5 คะแนน แสดงวา
             มีคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพในระดับต่ํา

                     แบบสอบถามทุกขอมีคาดัชนีความสอดคลอง IOC (Index of Congruency) ตั้งแต 0.5
             ขึ้นไป และมีคาความเชื่อมั่นของเครื่องมือดังนี้ แบบสอบถามความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
             การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของ กุสุมา กังหลี (2557) มีคาความ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24