Page 23 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 23

18  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018

             ครอบครัวและสังคม อาจทําให ผูเปนเบาหวานมีความพึงพอใจในชีวิตของตนเอง และการดูแล
             สุขภาพลดลงสงผลใหการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดใหอยูในระดับปกติเปนไปไดยาก

                     เพศ จากการศึกษานี้พบวา เพศไมมีความสัมพันธกับการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด
             ของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 สอดคลองกับการศึกษาของดวงใจ พันธอารีวัฒนา (2561) พบวา
             ขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ ไมมีความสัมพันธกับการควบคุมคาน้ําตาลสะสมในเลือด และ
             สอดคลองกับการศึกษาของอุสา พุทธรักษ และคณะ (2558) ซึ่งศึกษาในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2
             ที่เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลกางปลา จังหวัดเลย อาจเนื่องมาจากใน

             การศึกษานี้ กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิงมากถึงรอยละ 75.42 ทําใหไมมีความแตกตางกับ
             เพศชายในดานการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด
                     ดัชนีมวลกาย จากการศึกษานี้พบวา ดัชนีมวลกายมีความสัมพันธกับการควบคุมระดับ

             น้ําตาลในเลือดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01 ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของอุสา พุทธรักษ
             และคณะ (2558) ซึ่งศึกษาในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลสงเสริม
             สุขภาพตําบลกางปลา จังหวัดเลย ที่พบวาดัชนีมวลกายมีความสัมพันธกับการควบคุมระดับ
             น้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 และการศึกษาของละอองดาว คําชาตา และคณะ

             (2560) ซึ่งพบวา โรคอวนลงพุงมีความสัมพันธกับการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยพบวาผูที่
             อวนเล็กนอยจะมีโอกาสเกิดโรคเบาหวานไดมากกวาคนทั่วไป 2 เทา แตหากอวนในระดับปาน
             กลางจะมีโอกาสเปนโรคเบาหวานไดเพิ่มขึ้น เปน 5 เทา และหากอวนมาก ๆ จะมีโอกาสเกิด
             โรคเบาหวานไดถึง 10 เทา อธิบายไดวาในการศึกษานี้กลุมตัวอยางสวนใหญมีดัชนีมวลกายเกิน

             เกณฑ ทําใหรับรูวาตนเองมีความเสี่ยงมากขึ้นในการเกิดภาวะแทรกซอน และมีความตระหนักใน
             การดูแลตนเองมากขึ้น ทําใหสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได
                     สถานภาพสมรส จากการศึกษานี้พบวา สถานภาพสมรสไมมีความสัมพันธกับการ
             ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด สอดคลองกับผลการศึกษาของกุสุมา กังหลี (2557) และการศึกษา

             ของอุสา พุทธรักษ และคณะ (2558) ซึ่งพบวาสถานภาพสมรสไมมีความสัมพันธกับการควบคุม
             ระดับน้ําตาลในเลือด อธิบายไดวาแมกลุมตัวอยางสวนใหญมีสถานภาพสมรสคู แตเนื่องจากสวน
             ใหญเปนผูสูงอายุ ซึ่งทั้งคูสมรสและผูปวยลวนมีปญหาจากความเสื่อมตามวัยทั้งคู ทําใหไมมีผู
             คอยใหความชวยเหลือ ปลอบโยน ใหกําลังใจ ใหคําปรึกษา สงผลใหมีพฤติกรรมการดูแลตนเอง

             ไมดี และทําใหไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได
                     อาชีพ จากการศึกษานี้พบวา อาชีพไมมีความสัมพันธกับการควบคุมระดับน้ําตาลใน
             เลือด สอดคลองกับผลการศึกษาของผุสดี ดานกุล และคณะ (2554) ซึ่งศึกษาในเขตพื้นที่
             รับผิดชอบของหนวยบริการปฐมภูมิเครือขายเมืองยา 5 พบวา อาชีพไมมีความสัมพันธกับการ

             ควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 อาจเนื่องมาจากกลุมตัวอยางสวนใหญ
             ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และรับจาง ทําใหไมมีเวลาในการดูแลตนเองหรือสนใจในการปรับ
             พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอยางจริงจัง ทําใหไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28