Page 18 - JRIHS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 18

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.4 October-December 2018   13

                ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพไมมี
                ความสัมพันธกับการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด ของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 แตจากการศึกษา

                ของ ทรรศนีย สิริวัฒนพรกุล, นงนุช โอบะ และสุชาดา อินทรกําแหง ณ ราชสีมา (2550) ศึกษา
                ปจจัยที่มีความสัมพันธกับระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 พบวาแรงสนับสนุน
                ของครอบครัวมีความสัมพันธทางบวกในระดับต่ําอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = 0.130, p-value
                < .05) กับระดับน้ําตาลในเลือดของผูปวย
                        จากความสําคัญของปญหาและความขัดแยงของการศึกษาดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงมี

                ความสนใจศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด ของผูปวย
                โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่คลินิกโรคเบาหวาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
                หนองกินเพล ตําบลหนองกินเพล จังหวัดอุบลราชธานี และคาดวาผลจากการศึกษาจะนํามาใช

                ประโยชนเปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดเพื่อปองกัน
                ภาวะแทรกซอนของผูปวยโรคเบาหวานอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


                วัตถุประสงคการวิจัย
                        1. เพื่อศึกษาขอมูลสวนบุคคล ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน การสนับสนุนทางสังคม
                พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลสงเสริม

                สุขภาพสวนตําบลหนองกินเพล จังหวัดอุบลราชธานี
                        2. เพื่อศึกษาความสัมพันธของปจจัยขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ สถานภาพสมรส อายุ

                ระดับการศึกษา อาชีพ คาดัชนีมวลกาย และระยะเวลาการดําเนินโรค ปจจัยดานความรูเกี่ยวกับ
                โรคเบาหวาน  ปจจัยดานการสนับสนุนทางสังคม และปจจัยดานพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ กับ
                การควบคุมระดับน้ําตาลของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ในพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลสงเสริม

                สุขภาพสวนตําบลหนองกินเพล จังหวัดอุบลราชธานี

                วิธีดําเนินการวิจัย
                        การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) แบบภาคตัดขวาง (Cross

                section study) ประชากรที่ศึกษาครั้งนี้เลือกแบบเจาะจง คือ ผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 จาก
                บัญชีผูปวยโรคเบาหวานของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองกินเพล ป พ.ศ.2561 มี
                จํานวนผูปวย จํานวน 169 คน กําหนดขนาดกลุมตัวอยางโดยใชสูตรของเครซี่และมอรแกน
                (Krejcie and Morgan, 1970) ไดจํานวนกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 118 คน เลือกกลุมตัวอยางโดยการ

                สุมตัวอยางแบบงาย (Simple random sampling) โดยการจับฉลาก มีเกณฑการคัดเลือก
                (Inclusion criteria) ดังนี้ 1) ผูที่ไดรับวินิจฉัยจากแพทยวาเปนเบาหวานชนิดที่ 2 2) มีอายุตั้งแต
                18 ป ขึ้นไป 3) มีผลการตรวจระดับน้ําตาลในเลือดเฉลี่ยสะสม (HbA1C) หากไมมีขอมูลลาสุดให
                ทําการยอนดูเวชระเบียนกอนหนานั้น แตตองไมเกิน 12 เดือน นับจากวันที่ผูปวยเขามาพบ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23