Page 70 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 70

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   65

                ขอ 9 ขอคําถามแตละขอมีลักษณะมาตรสวนประมาณคา 4 ระดับ ตั้งแต 1 ถึง 4 และแปลผล
                คะแนนความรูสึกมีคุณคาในตนเองแบงออกเปน 4 ระดับ คือ

                          คาเฉลี่ย 3.50 ขึ้นไป   หมายถึง  ความรูสึกมีคุณคาในตนเองมากที่สุด
                          คาเฉลี่ย 2.50-3.49   หมายถึง  ความรูสึกมีคุณคาในตนเองมาก
                          คาเฉลี่ย 1.50-2.49   หมายถึง  ความรูสึกมีคุณคาในตนเองปานกลาง
                          คาเฉลี่ยต่ํากวา 1.50   หมายถึง  ความรูสึกมีคุณคาในตนเองนอย
                        การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ

                        สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยนําแบบสอบถามขอมูลทั่วไป
                หาความสอดคลองระหวางขอคําถามแตละขอกับเนื้อหา (Index of Item-Objective
                Congruence: IOC) โดยผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน ไดแก อาจารยพยาบาลผูทรงคุณวุฒิดานสุขภาพจิต

                และการพยาบาลจิตเวชจํานวน 2 ทาน และอาจารยผูทรงคุณวุฒิดานการพยาบาลผูใหญและ
                ผูสูงอายุจํานวน 1 ทาน ในการวิจัยครั้งนี้ไดนําแบบสอบถามใหผูทรงคุณวุฒิพิจารณา ไดคาดัชนี
                ความสอดคลองกับเนื้อหาที่ 0.97 หลังจากผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิ ผูวิจัยนํา
                แบบสอบถามมาปรับปรุงและนําไปทอดลองใช (try out) กับผูสูงอายุจํานวน 24 ราย เพื่อทดสอบ

                ความเหมาะสมในดานภาษา เนื้อหา และความเปนไปไดของเครื่องมือ และนํามาปรับปรุงแกไขกอน
                นําไปใชจริง
                        สวนที่ 2 แบบสอบถามความมีคุณคาในตนเองของโรเซนเบิรก ผูวิจัยนําแบบสอบถามไป
                ทดลองใช (try out) กับผูสูงอายุจํานวน 24 ราย จากนั้นจึงนํามาทดสอบความเชื่อมั่นของ

                แบบสอบถามโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยใชคาสัม
                ประสิทธแอลฟา (Cronbach’s alpha coefficient) ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.74
                        การพิทักษสิทธิ์กลุมตัวอยาง
                        การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดทําการพิทักสิทธิ์กลุมตัวอยางโดย กอนการเก็บรวบรวมขอมูล

                ผูวิจัยชี้แจงวัตถุประสงคของการวิจัย ประโยชนของการวิจัยและการเก็บขอมูล โดยใหกลุม
                ตัวอยางลงนามยินยอมเขารวมวิจัย การใหความรวมมือในการเก็บขอมูลเปนไปตามความสมัคร
                ใจของกลุมตัวอยาง และในการรวบรวมขอมูลจะไมระบุชื่อ หรือที่อยูของกลุมตัวอยาง และกลุม
                ตัวอยางสามารถถอนตัวจากการวิจัยไดโดยไมมีผลกระทบใดๆ ขอมูลที่ไดจะเก็บเปนความลับ ไม

                ปรากฏชื่อกลุมตัวอยางในแบบสอบถาม การนําเสนอขอมูลจะกระทําในภาพรวมเทานั้นและ
                ผูวิจัยจะทําลายแบบสอบถามหลังการวิจัยสิ้นสุด
                        การวิเคราะหขอมูล ภายหลังการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยทําการตรวจสอบความกตอง
                และความสมบูรณของขอมูลที่ไดแลวนํามาวิเคราะห ดังนี้

                        ขอมูลสวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไปประกอบดวย เพศ อายุ ศาสนา ความสามารถ
                ในการอานและเขียน อาชีพ รายได สถานภาพสมรส โรคประจําตัว จํานวนสมาชิกในครอบครัว
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75