Page 75 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 75

70  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             มีความภาคภูมิใจในความสามารถของตนเอง นอกจากนี้แรงสนับสนุนทางสังคม การเขารวมกิจกรรม
             ทางสังคม มีผลชวยใหผูสูงอายุมีสัมพันธภาพที่เหมาะสมและทําใหผูสูงอายุมีสุขภาพกายและจิตที่ดี


             ขอเสนอแนะ
                     1. ทุกตําบลควรสงเสริมใหผูสูงอายุเห็นคุณคาในตนเอง การบริหารสงเสริมสัมพันธภาพ
             การบริหารอารมณดวยกิจกรรมที่ทําใหผูสูงอายุทุกคนไดมีสวนรวม เชน การจัดกีฬาผูสูงอายุ
             หรือการจัดงานบุญประเพณี เพื่อใหผูสูงอายุไดมีบทบาทและเขามามีสวนรวม พูดคุย เสริมสราง

             ปฏิสัมพันธกับผูอื่น ใหผูสูงอายุตระหนักถึงการรับรูความสามารถของตนเอง และการเห็นคุณคา
             ในตนเอง นําไปสูการมองโลกในแงดี เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุใหดียิ่งขึ้น
                     2. การดําเนินกิจกรรมโรงเรียนผูสูงอายุควรดําเนินกิจกรรมตอเนื่องและสรางความยั่งยืน

             ของการดําเนินกิจกรรมดวยการมีสวนรวมในชุมชนเพื่อใหผูสูงอายุมีการเห็นคุณคาในตนเองมากขึ้น
             และมีสุขภาพจิตที่ดีตามไปดวย
                     3. ครอบครัวเปนสถาบันหลักในการเกื้อหนุนผูสูงอายุ สามารถนําขอมูลการวิจัยไปใช
             ออกแบบกิจกรรมในการสนับสนุนผูสูงอายุในครอบครัวใหเกิด การยอมรับนับถือและเห็นคุณคา

             ในตนเอง มีกําลังใจในการทํางานและการดําเนินชีวิตใหบรรลุเปาหมายอยางมีความสุข

             กิตติกรรมประกาศ
                     ขอขอบพระคุณผูสูงอายุตําบลหนองกินเพลที่ใหความรวมมือในการวิจัยครั้งนี้


             เอกสารอางอิง
             กัญญา นพเกตุและคณะ. (2560). ปจจัยทานายความผาสุกทางใจของผูสูงอายุที่เปน
                     โรคเบาหวาน ที่มารับบริการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ. Journal of Nursing and

                     Health Care. 35(4), สืบคนเมื่อเมษายน 4, 2561, จาก https://www.tci-thaijo.org/
                     index.php/jnat-ed/article/view/111849
             จุฑาธิบดิ์ กุลดีและคณะ. (2561). รูปแบบการสงเสริมการพึ่งตนเองของผูสูงอายุจังหวัดเชียงราย.

                     สักทอง : วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (สทมส.). 24(3), สืบคนเมื่อ เมษายน 4, 2561,
                     จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/tgt/article/download/ 169267/121793/
             ชุติเดช เจียนดอน และคณะ. (2554). คุณภาพชีวิตของผูสูงอายุในชนบท อาเภอวังน้ําเขียว
                     จังหวัด  นครราชสีมา. วารสารสาธารณสุขศาสตร.41(3). สืบคนเมื่อ พฤษภาคม 15,
                     2561, จาก http://repository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/

                     2528/2/ph-ar-nawarat2554.pdf
             ชุลีกร ปญญาและคณะ. (2557). ปจจัยทํานายความหวาเหวของผูสูงอายุที่เจ็บปวยเรื้อรังใน
                     ชุมชน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. 22(4), 2-3
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80