Page 73 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 73

68  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             สรุปและอภิปรายผล
                     จากการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนผูสูงอายุตอนตน (60-74) รอยละ 77.8 ซึ่ง

             สวนใหญจะเปนผูสูงอายุตอนตนซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางดานสรีระยังไมมากนัก ยังสามารถ
             ปฏิบัติกิจวัตรประจําวันไดเอง ไมตองพึ่งพาผูอื่น สอดคลองกับงานวิจัยของวิไลพร ขําวงษ
             (2554) ที่พบวา ผูสูงอายุที่มีอายุมากจะประเมินคุณภาพชีวิตต่ํากวาผูสูงอายุที่มีอายุนอย จาก
             การศึกษาครั้งนี้พบวาผูสูงอายุสวนใหญมีความรูสึกมีคุณคาในตนเองระดับมากอาจเปนเพราะ
             กลุมตัวอยางสวนใหญเปนผูอายุตอนตน

                     ดานศาสนา พบวา กลุมตัวอยางรอยละ 100 นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งกลุมตัวอยางสวน
             ใหญใหความสําคัญในการเขารวมกิจกรรมทางศาสนา คือ เขาวัด ปฏิบัติธรรม เขารวมงานบุญ
             ประเพณีอยูเสมอ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของภารดี พูลประภาเอี่ยมเจริญและคณะ (2561)

             พบวา หลักทางศาสนาสามารถนํามาพัฒนาชีวิตในกระบวนการเพิ่มความมีคุณคาในตนเอง เชน
             ในการแกไขปญหาในชีวิตหรือโดยการปฏิบัติตนทําประโยชนใหแกสาธารณะ ชวยเหลือสังคม
             เขากิจกรรมทางศาสนา และการศึกษาตามหลักคําสอนทางศาสนาเปนแนวทางหนึ่งที่ยกระดับ
             จิตใจใหกาวสูถึงความสุข เพื่อใหเกิดความผาสุกทางจิตวิญญาณ มีจิตใจที่สงบ

                     ดานความสามารถในการอานและเขียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 55.9
             สามารถอานและเขียนได และจากการสังเกต พบวากลุมตัวอยางสามารถอานและเขียนไดโดย
             การทําแบบสอบถาม ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของชุติเดช เจียนดอนและคณะ (2554) ซึ่งพบวา
             ความสามารถในการอานและเขียน เปนทักษะที่ชวยแสวงหาความรูเพื่อการดูแลตนเองทําให

             ผูสูงอายุรูสึกวาตนเองมีศักยภาพในการที่จะดูแลตนเอง การมีความรูและสามารถดูแลตนเองไดดี
             มีความสัมพันธกับคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ ถาผูสูงอายุมีระดับการศึกษาสูงขึ้น ความมีคุณคาใน
             ตนเองมีแนวโนมที่ดีขึ้น สงผลใหคุณภาพชีวิตก็มีแนวโนมที่ดีขึ้นเชนกัน เพราะการศึกษาเปน
             ปจจัยสําคัญในการพัฒนาความฉลาดทางสุขภาพ สงผลใหมีความรูในการปฏิบัติตัวใหเหมาะสม

             เมื่อเจ็บปวย สงผลตอความรูสึกพึงพอใจในตนเองที่ยังมีสามารถและมีความรูความเขาใจในการ
             ดูแลภาวะสุขภาพของตนได
                     ดานอาชีพและรายได พบวา กลุมตัวอยาง รอยละ 100 มีรายไดทุกราย ซึ่งกลุมตัวอยาง
             สวนใหญไมมีหนี้สิน และมีรายไดเพียงพอตอคาใชจายมากกวาครึ่งหนึ่ง ซึ่งรายไดเฉลี่ยอยูที่

             1950.7 ตอเดือน รายไดสวนใหญไดมาจากการไดรับเบี้ยยังชีพ รอยละ 100 รองลงมาไดจากบุตร
             หลาน รอยละ 73.1 และรายไดที่ไดมาจากทั้ง เบี้ยยังชีพ บุตรหลาน และการประกอบอาชีพ รอย
             ละ 29.4 สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมและคาขาย รอยละ 59.1 สอดคลองกับการศึกษา
             ของนภาพร ชโยวรรณ (2552) พบวา ผูสูงอายุเกินครึ่งหนึ่ง มีรายไดที่เพียงพอตอการใชจาย

             เนื่องมาจากผูสูงอายุสวนใหญอาศัยอยูกับครอบครัว บุตร และหลาน โดยที่ครอบครัว ลูก หลาน
             จะคอยดูแลชีวิตความเปนอยูของกลุมตัวอยางในดานตาง ๆ ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของศรี
             ธรรม ธนภูมิ (2535) ที่อธิบายปจจัยที่ทําใหผูสูงอายุมีความสุขในการดํารงชีวิต คือ การเตรียม
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78