Page 69 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 69

64  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

                     3. ไมมีภาวะสมองเสื่อม จากการประเมินดวยแบบประเมินภาวะสมองเสื่อม
             (Dementia Screening Tool - Region 11)

                     4. มีความยินดีและเต็มใจเขารวมวิจัย
                     จํานวนกลุมตัวอยาง คํานวณกลุมตัวอยาง โดยใชสูตรของยามาเน (Yamane, 1973)
             ไดเทากับ 280 คน
                     การสุมตัวอยาง ในการทําวิจัยครั้งนี้กลุมตัวอยาง มีจํานวนทั้งสิ้น 280 คน ซึ่งในตําบล
             หนองกินเพลมีจํานวน 9 หมูบาน เลือกสุมกลุมตัวอยางแบบใชความนาจะเปน (Probability

             Sampling) โดยการสุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling)  เพื่อคัดเลือกกลุม
             ตัวอยางที่ใชเปนตัวแทนของประชากรผูสูงอายุของแตละหมู ซึ่งวิธีดังกลาวสามารถขจัดความเอน
             เอียงในเลือกการเลือกกลุมตัวอยาง ดังนี้

                     ขั้นตอนการสุมกลุมตัวอยาง
                     1. ผูวิจัยเลือกสุมกลุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยการสุม
             กลุมตัวอยางจากทั้ง 9 หมู และสุมตามสัดสวนประชากรในแตละหมู ซึ่งจะไดกลุมตัวอยางในแต
             ละหมู ดังนี้

                     หมู 1 จํานวน 23 คน หมู 2 จํานวน 41 คน หมู 3 จํานวน 39 คน หมู 4 จํานวน 22 คน
             หมู 5 จํานวน 29 คน หมู 6 จํานวน 33 คน หมู 7 จํานวน 28 คน หมู 8 จํานวน 36 คน หมู 9
             จํานวน 29 คน รวมทั้งสิ้น 280 คน
                     2. เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เปนการเลือกกลุมตัวอยาง

             โดยพิจารณาจากลักษณะตามคุณสมบัติที่กําหนดจนครบตามที่คํานวณไวในแตละหมู
                     เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลครั้งนี้ ประกอบดวย 2
             สวน ไดแก สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป และสวนที่ 2 แบบสอบถามการรับรูความรูสึก
             คุณคาในตนเองของโรเซนเบิรก ดังนี้

                     สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป ผูวิจัยสรางขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมประกอบดวย
             ขอคําถามทั้งหมด 12 ขอ โดยมีคําถามปลายปดจํานวน 3 ขอ ไดแก เพศ ความสามารถในการอาน
             และเขียน ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน และคําถามปลายเปดจํานวน 9 ขอ ไดแก
             อายุ ศาสนา อาชีพ รายได สถานภาพสมรส โรคประจําตัว จํานวนสมาชิกในครอบครัว ระบบ

             สาธารณูปโภค ความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว และกิจกรรมยามวางหรืองานอดิเรก
                     สวนที่ 2 แบบสอบถามความมีคุณคาในตนเองของโรเซนเบิรก ผูวิจัยใชแบบสอบถาม
             เกี่ยวกับการรับรูความมีคุณคาในตนเองของโรเซนเบิรก  โดยประเมินดวย Rosenberg Self
             Esteem Scale ฉบับภาษาไทย (Wongpakaran T. และ Wongpakaran N, 2011) ไดคา

             Cronbach’s alpha coefficient เทากับ 0.86 แบบสอบถามประกอบดวยคําถามจํานวน 10
             ขอ เปนขอความทางดานบวกและขอความทางดานลบ โดยแบงเปนขอคําถามดานบวกจํานวน 6
             ขอ ไดแก ขอ 1, 3, 4, 7, 8 และขอ 10 ขอคําถามดานลบจํานวน 4 ขอ ไดแก ขอ 2, 5, 6 และ
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74