Page 67 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 67
62 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.-3 July-September 2018
Abstract
The elderly population is considered to have risk factors for perceived low
self-esteem and perceived self-esteem correlated with the health of the elderly.
This study is a descriptive research were to determine the Perceived of Self –
Esteem among Elderly People at Nongkinphen Subdistrict Warin chamrap District
Ubon ratchathani Province. The study included 280 cases. Data collected in April
2018. The research instrument were general information query and Rosenberg's
Self-esteem questionnaire. The reliabilities was 0.74. The data were analyzed by
Frequency, percentage, mean and standard deviation. The results showed that
the level of self-esteem of the elderly in the overall was at a high level, 70.25
percent. Followed by the highest self-esteem, 27.59 percent with a moderate
level of self-worth 2.15 percent. There were no elderly people with low self-
esteem.
Keywords: Aging, Self – Esteem
บทนํา
ปจจุบันประเทศไทยไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging society) โดยพบในป พ.ศ. 2561
มีประชากรทั้งสิ้น 66,342,166 คน แบงเปนกลุมวัยสูงอายุ (60 ปขึ้นไป) จํานวน 11,507,357
คนคิดเปนรอยละ 17.3 ของจํานวนประชากรทั้งหมด (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561) นั่นแสดงวาประเทศไทยเปนสังคมผูสูงอายุ ซึ่งสาเหตุของการเขาสู
สังคมผูสูงอายุนั้น ไดแก เนื่องจากความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการแพทย การ
พัฒนาทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศทําใหสามารถเพิ่มสวัสดิการแกประชาชนไดมากขึ้น
การพัฒนาทางดานสาธารณสุข มีการบริโภคที่ถูกหลักโภชนาการ มีการศึกษารูจักดูแลรักษา
สุขภาพอนามัย ทําใหประชาชนมีอายุยืนมากขึ้น และมีนวัตกรรมใหมที่รักษาโรคและควบคุมโรค
ระบาด และจากนโยบายการวางแผนครอบครัวหรือการควบคุมการมีบุตรมีผลทําใหอัตราการ
เกิดลดลงอยางรวดเร็ว จากสถานการณดังกลาว ยิ่งทําใหสัดสวนประชากรผูสูงอายุมีแนวโนมเพิ่ม
สูงขึ้น และจะสูงขึ้นเรื่อยๆ (ชมพูนุท พรหมภักดิ์, 2556; Sukhothai Thammathirat, 2014)
วัยสูงอายุเปนวันของความเสื่อมทั้งดานรางกายและจิตใจ จากการศึกษาเกี่ยวกับการ
มองตนเองของผูสูงอายุ พบวา ในดานกายภาพผูสูงอายุมองตนเองวาเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ไมสวยงาม
เหมือนเดิม ความแข็งแรงของรางกายมีนอยลง ไมแข็งแรงเหมือนเมื่อกอน อีกทั้งมีโรคประจําตัว
เพิ่มขึ้น (มาธุรี อุไรรัตน และมาลี สบายยิ่ง, 2560) การเจ็บปวยเรื้อรัง ที่รักษาไมหายขาด ตองใช
ระยะเวลาในการรักษา และอาจมีอาการกําเริบเปนบางครั้งคราว การเจ็บปวยเรื้อรังสงผลให
ผูสูงอายุเกิดความเบื่อหนาย ทอแทในชีวิต ทําใหผูสูงอายุรูสึกมีความบกพรองทางรางกายหรือไร
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันตาง ๆ ลดนอยลง ตองพึ่งพาผูอื่นมากขึ้น (อุมาพร