Page 62 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 62

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   57

                ชีวิตประจําวันที่เสี่ยงตอการเกิดขอเขาเสื่อมมากกวาเพศชาย เชน การทํางานบาน การนั่งพับ
                เพียบ การนั่งยอง ๆ นั่งขัดสมาธิ และเพศหญิงเมื่ออยูในวัยที่หมดประจําเดือนทําใหขาดฮอรโมน

                เอสโตรเจน ซึ่งเปนสาเหตุของการเสื่อมของขอเขา สอดคลองกับการศึกษาของยุวดี สารบูรณ
                (2557) ที่พบวาเพศหญิงและเพศชายมีโอกาสที่จะเกิดโรคขอเขาเสื่อมเทาเทียมกัน เพราะเพศชายก็
                มีกิจกรรมในชีวิตประจําวันที่เสี่ยงตอการเกิดขอเขาเสื่อมไดเชนกันจะเห็นไดจากกิจกรรมที่ตองใช
                แรงของขอเขา เชน การแบกของหนัก การเลนกีฬาที่มีการปะทะ ไดแก ฟุตบอล มวย เปนตน  ดังนั้น
                ไมวาจะเปนเพศหญิงหรือชายก็มีโอกาสเกิดโรคขอเขาเสื่อมไดเทาเทียมกัน

                          อายุ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบาน
                ทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผูวิจัยเห็นวา การศึกษาในครั้งนี้กลุม
                ตัวอยางเปนผูสูงอายุซึ่งอยูในวัยที่รางกายเสื่อมโทรม เนื้อเยื่อรอบขอไมแข็งแรง เสนเอ็นหยอนยาน

                ขอตอหลวมไมมั่นคง (นงพิมล นิมิตรอานันท, 2557) จึงทําใหเสี่ยงตอการเกิดขอเขาเสื่อม
                มากกวาวัยหนุมสาว สอดคลองกับการศึกษาของนงพิมล นิมิตรอานันท (2561) ที่พบวาโรคขอ
                เสื่อมพบในผูสูงอายุมากกวาคนวัยหนุมสาว
                        BMI  ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชน

                บานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผูวิจัยเห็นวา ไมวาจะมีระดับดัชนี
                มวลกายอยูในระดับนอยหรือมากก็มีโอกาสเกิดโรคขอเขาเสื่อมไดเหมือนกัน  เพราะปจจัยเสี่ยงตอ
                การเกิดขอเขาเสื่อมนั้นไมไดมาจากการมีน้ําหนักตัวมากเพียงอยางเดียว แตมีปจจัยอื่น ๆ อีกหลาย
                ดานไดแก อายุที่มากขึ้น  การที่เคยบาดเจ็บที่ขอเขามากอน หรือ การใชงานขอเขามากเกินไปเปนตน

                ดังนั้นไมวาจะมีน้ําหนักมากหรือนอยก็สามารถมีพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมไดจาก
                พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองของแตละคน สอดคลองกับผลงานวิจัยของเสาวนีย สิงหา และ
                คณะ(2558) ที่พบวาผูที่มีน้ําหนักตัวมากหรือนอยก็จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพไดเหมือนกัน
                        ระดับการศึกษา ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุ

                ในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผูวิจัยเห็นวา ไมวาจะมี
                ระดับการศึกษาอยูในระดับใด ก็สามารถมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองไดอยางถูกตอง
                ขึ้นอยูกับการแสวงหาความรูรอบตัวและแรงสนับสนุนจากคนรอบขาง ไมสอดคลองกับ
                ผลงานวิจัยของยุวดี สารบูรณ (2557) ที่พบวาระดับการศึกษาอยูในระดับประถมศึกษาอาจสงผล

                ตอการเรียนรูและการรับรูเกี่ยวกับโรคที่ไมถูกตองตลอดจนมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในการ
                ปองกันหรือดูแลตนเองเกี่ยวกับโรคที่ไมเหมาะสม
                       2. ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขา
                เสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผูวิจัย

                เห็นวา การที่ประชาชนไมมีความรูในการดูแลหรือปองกันตนเองจากโรคขอเขาเสื่อมอยางถูกตอง
                จะสงผลตอการเกิดโรคขอเขาเสื่อมโดยตรงเพราะถาไมมีความรูแลวก็จะดูแลตนเองไมถูกตอง
                และเหมาะสม ทั้งในดานการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน ดานการรับประทานอาหาร ดังนั้นจะทําให
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67