Page 63 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 63

58  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคขอเขาเสื่อมเพิ่มมากขึ้น สอดคลองกับงานวิจัยของยุวดี สารบูรณ
             (2557) ที่พบวากลุมตัวอยางมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคขอเขาเสื่อมและมีอาการของโรคที่รุนแรง

             ขึ้นจากการที่มีความรูเรื่องโรคและการรับรูความเจ็บปวยที่ต่ํา ซึ่งความรูและขอมูลเกี่ยวกับโรค
             เปนสิ่งสําคัญที่ทําใหมีการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในการปองกันและจัดการกับโรคไดอยาง
             ถูกตอง
                     3. แรงสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของ
             ผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผูวิจัยเห็นวา การ

             ไดรับการสนับสนุนจากครอบครัว จากเพื่อน และจากเจาหนาที่สาธารณสุขทั้งในดานการ
             รับประทานอาหาร การออกกําลังกาย การแนะนําใหหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่สงผลตอขอเขา การให
             ความรูในสาเหตุการเกิดโรคขอเขาเสื่อม และการใหความรูในการปองกันการเกิดโรคขอเขาเสื่อม

             มีผลตอการปองกันการเกิดโรคขอเขาเสื่อมเพราะจะทําใหเกิดความตระหนักถึงการดูแลและ
             ปองกันตนเองจากโรคขอเขาเสื่อมเพิ่มมากขึ้น สอดคลองกับงานวิจัยของยุวดี สารบูรณ (2557)
             ที่พบวาการไดรับการสนับสนุนโดยกลุมครอบครัว เพื่อน และเจาหนาที่สาธารณสุข เกิดทําให
             การเรียนรูที่ดีขึ้นและทําใหปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพไดดีขึ้น และจากการศึกษายังพบวากลุม

             ตัวอยางที่ไมมีครอบครัว เพื่อน เจาหนาที่สาธารณสุขสนับสนุนดูแล สวนใหญตองการบุคคลใน
             การสนับสนุนดูแล เชน กลุมครอบครัว เพื่อน และเจาหนาที่สาธารณสุข ซึ่งอาจทําใหขาด
             แรงจูงใจในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และสอดคลองกับงานวิจัยของบุญเรียง พิสมัย (2555)
             ที่พบวาแรงสนับสนุนเปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญตอการกระทําพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของ

             บุคคล และการไดรับกิจกรรมสรางเสริมความรูและทักษะจะทําใหมีมั่นใจในการกระทํา
             พฤติกรรมมากขึ้น และกลุมตัวอยางที่ไมมีแรงสนับสนุนทางดานสังคมจะสงผลตอแรงจูงใจในการ
             มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง
                     4. พฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในบานทาบอ ตําบลแจระแม

             อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยรวมอยูในระดับปฏิบัติบอยครั้ง ซึ่งยังไมถึงระดับปฏิบัติทุก
             ครั้ง เพราะเกิดจากระดับความรูเกี่ยวกับการปองกันโรคขอเขาเสื่อมสวนใหญ อยูในระดับปาน
             กลาง การรับรูความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อมโดยรวมอยูในระดับเห็นดวย แรงสนับสนุนทาง
             สังคมโดยรวม อยูในระดับปานกลาง เนื่องจากกลุมตัวอยางสวนใหญมีความรูอยูในระดับปาน

             กลาง สงผลใหขาดความตระหนักรูในการดูแลตนเอง อีกทั้งแรงสนับสนุนทางสังคมทางดาน
             ครอบครัวเพื่อนและเจาหนาที่สาธารณสุขอยูในระดับปานกลางจึงทําใหผูสูงอายุไมไดรับความรู
             ขอมูลขาวสารเพียงพอเกี่ยวกับการปองกันโรคขอเขาเสื่อม หากผูสูงอายุไดรับความรูเกี่ยวกับการ
             ปองกันโรคขอเขาเสื่อม และไดรับแรงสนับสนุนทางดานสังคมเพิ่มมากขึ้น อาจสงผลใหมี

             พฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมอยูในระดับปฏิบัติทุกครั้ง
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68