Page 61 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 61

56  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

                     *   หมายถึง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
                     **  หมายถึง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

                     จากตารางพบวา ความสัมพันธของตัวแปรอิสระ 9 ตัวแปร กับพฤติกรรมการปองกันโรค
             ขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีคา
             สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ตั้งแต -.047 ถึง .264 ตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธทางบวกกับตัวแปร
             ตามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3 ตัวแปร คือ ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม (X5) (r =
             .237) แรง สนับสนุนจากเพื่อน (X8)  (r = .165) และแรงสนับสนุนจากเจาหนาที่สาธารณสุข

             (X9) (r = .264) และมีตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธทางบวกกับตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญทาง
             สถิติที่ระดับ .05 มี 1 ตัวแปรคือ แรงสนับสนุนจากครอบครัว (X7)  (r = .145)


             สรุปผลการวิจัย
                     1. พฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม
             อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อยูในระดับปฏิบัติบอยครั้ง ( X = 2.89, SD=0.26) กลุม
             ตัวอยางเปน เพศชาย 101 คน รอยละ 41.6 เพศหญิง จํานวน 142 คน รอยละ 58.4 อายุสูงสุด

             92 ป อายุ ต่ําสุด 60 ป และสวนใหญมีคา BMI ปกติ จํานวน 137 คน รอยละ 56.4 ระดับ สวน
             ใหญมีการศึกษาระดับประถมศึกษา 202 คน รอยละ 83.1 มีความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม อยู
             ในระดับปานกลางมากที่สุด จํานวน 132 คน รอยละ 56.4 มีการรับรูความรุนแรงของโรคขอเขา
             เสื่อมโดยรวมอยูในระดับเห็นดวยมาก ( X  = 3.83 SD = 0.34) และแรงสนับสนุนทางสังคมโดย

             รวมอยูในระดับปานกลาง  ( X = 3.25 SD=1.18)
                     2. ความสัมพันธของตัวแปรอิสระ 9 ตัวแปร กับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อม
             ของผูสูงอายุในบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี  มีคาสัมประสิทธิ์
             สหสัมพันธ ตั้งแต -.047 ถึง .264 ตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธทางบวกกับตัวแปรตามอยางมี

             นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3 ตัวแปร คือ ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม (X5) (r = .237) แรง
             สนับสนุนจากเพื่อน (X8)  (r = .165) และแรงสนับสนุนจากเจาหนาที่สาธารณสุข (X9) (r =
             .264) และมีตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธทางบวกกับตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

             .05 มี 1 ตัวแปรคือ แรงสนับสนุนจากครอบครัว (X7) (r = .145)

             อภิปรายผลการวิจัย
                     1. ปจจัยดานชีวสังคม เปนปจจัยที่สงผลทางออมตอพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขา
             เสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ไดแก

             เพศ อายุ ระดับ BMI และระดับการศึกษา
                     เพศ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชน
             บานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผูวิจัยเห็นวา เพศหญิงมีกิจกรรมใน
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66