Page 59 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 59

54  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

                     จากตารางพบวา ผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัด
             อุบลราชธานี มีความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม อยูในระดับปานกลางมากที่สุด จํานวน 132 คน

             รอยละ 56.4 รองลงมามีความรูระดับสูง จํานวน 54 รอยละ 22.2 และมีความรูระดับต่ํา จํานวน
             52 คน รอยละ 21.4 ตามลําดับ
                     3. ผลการวิเคราะหขอมูลของปจจัยนําดานการรับรูความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อมของ
             ผูสูงอายุในบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบวา โดยรวม อยูใน
             ระดับเห็นดวยมาก ( X  = 3.83 SD = 0.34) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ

             โรคขอเขาเสื่อมหากมีอาการรุนแรงจะทําใหปวดมาก จนทําใหนอนไมหลับ รองลงมาคือโรคขอ
             เขาเสื่อมจะทําใหสูญเสียภาพลักษณ โรคขอเขาเสื่อม หากมีอาการรุนแรงจะทําใหมีอาการปวด
             มากจนเดินไมได โรคขอเขาเสื่อมไมสามารถรักษาใหหายขาดได และโรคขอเขาเสื่อมทําใหตนขา

             ลีบเล็กลง ตามลําดับ
                     4. ตารางแสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยเสริมของผูสูงอายุในบาน
             ทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

                               ปจจัยเสริม                     X          SD        ระดับ
               แรงสนับสนุนจากครอบครัว                         4.02       0.97        มาก
               แรงสนับสนุนจากเพื่อน                           2.85       1.19     ปานกลาง

               แรงสนับสนุนจากเจาหนาที่สาธารณสุข             2.88       1.38     ปานกลาง
                                  รวม                         3.25       1.18     ปานกลาง
                     จากตารางพบวา ผูสูงอายุในบานทาบอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

             ไดรับปจจัยเสริมโดยรวมมากที่สุดคือดานแรงสนับสนุนจากครอบครัว อยูในระดับมาก รองลงมา
             คือ ดานแรงสนับสนุนจากเจาหนาที่สาธารณสุข และดานแรงสนับสนุนจากเพื่อน อยูในระดับ
             ปานกลาง
                     5. ผลการวิเคราะหขอมูล พฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในบานทา

             บอ ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบวา ผูสูงอายุในชุมชนบานทาบอ ตําบล
             แจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อม โดยรวมอยูใน
             ระดับปฏิบัติบอยครั้ง ( X = 2.89, SD=0.26) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ ขอที่มีคาเฉลี่ยอยูในระดับ
             ทานรับประทานอาหารที่มีแคลเซียม เพราะจะทําใหกระดูกแข็งแรง เชน ปลาเล็กปลานอย ผัก

             ใบเขียว รองลงมาคือทานนั่งเกาอี้ หรือ นั่งหยอนขาแทนการนั่งลงกับพื้น เมื่อมีอาการปวดเขา
             ทานซื้อยาแกปวด แกอักเสบหรือยาชุด รับประทานเอง ทานรับประทานอาหารที่มีแคลเซียม
             เพราะจะทําใหกระดูกแข็งแรง เชน นม ทานหลีกเลี่ยงการออกกําลังกายที่มีการกระโดดหรือมี
             การกระแทก ทานหลีกเลี่ยงการยกของหนัก ทานออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ สัปดาหละ 2-3

             ครั้ง ทานไปพบแพทยเมื่อมีอาการปวดเขามากผิดปกติ ทานนั่งยอง ๆ หรือนั่งพับเพียบนานเกิน
             30 นาที ทานหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร หวาน มัน เพราะจะทําใหน้ําหนักตัวมากขึ้น ทาน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64