Page 57 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 57

52  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

                     ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองตามขั้นตอน ดังนี้
                     1. เมื่อกลุมตัวอยางตัดสินใจเขารวมโครงการวิจัย โดยสมัครใจ ผูวิจัยใหกลุมตัวอยางลง

             นามในใบลงนามยินยอมเขารวมการวิจัย
                     2. ผูวิจัยอธิบายวิธีตอบแบบสอบถาม และอานแบบสอบถามใหกลุมตัวอยางฟงแลวให
             ตอบคําถามโดยเริ่มจากการตอบแบบสอบถามเพื่อคัดกรองกลุมตัวอยาง โดยใชแบบประเมิน
             ภาวะสมองเสื่อม (Chula Mental Test: CMT) ถาผานเกณฑจึงดําเนินการวิจัย การตอบ
             แบบสอบถามใชเวลาประมาณ 15 นาที ถากลุมตัวอยางคนใดตองการยุติการตอบ ผูวิจัยยินยอม

             ยุติการวิจัยตามความตองการของกลุมตัวอยาง และยกเลิกการเก็บรวบรวมขอมูลในกลุมตัวอยาง
             รายนั้นทันที
                     3. หลังจากตอบแบบสอบถามครบถวน เปดโอกาสใหกลุมตัวอยางซักถาม ตอบขอ

             ซักถามของกลุมตัวอยาง ใหคําแนะนําในการดูแลสุขภาพ จากนั้นจบการตอบแบบสอบถาม และ
             แสดงความขอบคุณที่ใหความรวมมือ
                     ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณโดยใชแบบสอบถามกับประชาชนที่เปนกลุม
             ตัวอยางทั้งหมด 243 คนครบถวนสมบูรณ 100% จากนั้นนําแบบสอบถามมาใหคะแนน และ

             นําไปวิเคราะหตามวิธีทางสถิติตอไป
                     การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
                     1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย สวน
             เบี่ยงเบนมาตรฐาน การอธิบายลักษณะขอมูลทางชีวสังคม ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม การ

             รับรูความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อม แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการปองกันโรคขอ
             เขาเสื่อม
                     2. วิเคราะหความสัมพันธของปจจัยชีวสังคม ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม การรับรู
             ความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อม แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการปองกันโรคขอเขา

             เสื่อม โดยใชสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (pearson’s Product Moment Correlation
             Coefficient)

             ผลการวิจัย

                     1. ตารางแสดงจํานวนและรอยละของขอมูลดานปจจัยชีวสังคมของผูสูงอายุบานทาบอ
             ตําบลแจระแมอําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

                             ขอมูลดานปจจัยชีวสังคม                จํานวน        รอยละ
               1. เพศ
                  1.1 ชาย                                             101           41.6
                  1.2 หญิง                                            142           58.4

                                      รวม                             243         100.00
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62