Page 54 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 54
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.-3 July-September 2018 49
ตัวแปร
1. ตัวแปรอิสระ คือ ปจจัยดานชีวสังคม ไดแก เพศ อายุ BMI ระดับการศึกษา ความรู
เกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม การรับรูความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อม และแรงสนับสนุนทางสังคม
ไดแก แรงสนับสนุนจากครอบครัว แรงสนับสนุนจากเพื่อน และแรงสนับสนุนจากเจาหนาที่
สาธารณสุข
2. ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการปองกันโรคขอเขาเสื่อมของผูสูงอายุในชุมชนทาบอ
ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบทดสอบและแบบสอบถาม การหาคาความเที่ยง
(Reliability) โดยนําแบบสอบถามไปทดลองใชกับกลุมประชาชนที่มีอายุ 60 ปขึ้นไปในตําบล
หนองกินเพล อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง
,
จํานวน 30 คน นํามาวิเคราะหหาความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยวิธี Cronbachs s Alpha
Coefficient Cronbach, Lee. J. (1990: 202-204) ภาพรวมทั้งฉบับมีคาความเชื่อมั่นเทากับ
.82 สําหรับแบบทดสอบมีคาความยาก (Level of Difficult: p) อยูในชวง .48-.78 และมีคา
อํานาจจําแนก (Discrimination power: r) อยูในชวง .21-.60
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมี 5 สวน ดังนี้
1. ขอมูลทั่วไปของผูสูงอายุ
ขอมูลทั่วไปของผูสูงอายุ ไดแก อายุ น้ําหนัก สวนสูง เปนแบบเติมคําลงในชองวาง (Fill
Qut) เพศ ระดับการศึกษา เปนแบบตรวจสอบรายการ (Check List)
2. แบบทดสอบความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม
เครื่องมือที่ใชทดสอบความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม ไดแก ความหมายของโรคขอเขา
เสื่อม สาเหตุการเกิดโรคขอเขาเสื่อม อาการของโรคขอเขาเสื่อม การวินิจฉัยโรคขอเขาเสื่อม การ
รักษาโรคขอเขาเสื่อม และการปองกันโรคขอเขาเสื่อม มีขอคําถามทั้งหมด 16 ขอ
โดยเกณฑการใหคะแนน ตอบผิด = 0 คะแนน
ตอบถูก = 1 คะแนน
ไดแบงระดับคะแนนออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑมัชฌิมเลขคณิตของ
คะแนนที่ได การกําหนดระดับความรูเปน 3 ระดับ ตั้งอยูบนพื้นฐานการประเมินความรูซึ่งปรับ
ใชจากเกณฑการแปลผล โดยใชตัวเลขแสดงระดับคุณภาพ ดังนี้
มีความรูระดับสูงคะแนนอยูในชวงมากกวา X + ½ SD ถึงสูงสุด
มีความรูระดับปานกลางคะแนนอยูระหวาง X ± ½ SD
มีความรูระดับต่ําคะแนนอยูระหวาง X - ½ SD ถึงต่ําสุด
X = คาเฉลี่ย
SD = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน